เอสวีที-40
หน้าตา
เอสวีที-40 | |
---|---|
เอสวีที-40 ในพิพิธภัณฑ์อาวุธใน,สต็อกโฮล์ม,สวีเดน | |
ชนิด | ปืนเล็กยาวกึ่งอัตโนมัติ |
แหล่งกำเนิด | สหภาพโซเวียต |
บทบาท | |
ประจำการ | 1940–ปัจจุบัน |
ผู้ใช้งาน | ดูใน ประจำการ |
สงคราม | สงครามกลางเมืองจีน สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง สงครามฤดูหนาว สงครามโลกครั้งที่สอง การก่อการกำเริบ Hukbalahap สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม การปฏิวัติคิวบา สงครามยูโกสลาเวีย สงครามเชชเนียครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง |
ประวัติการผลิต | |
ช่วงการออกแบบ | 1938 (การปรับปรุง 1940)[1] |
ช่วงการผลิต | 1938–1942[2] |
จำนวนที่ผลิต | 1,600,000 กระบอก [3][4] |
แบบอื่น | SVT-38, AVT-40 |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 3.85 กิโลกรัม (8.5 ปอนด์) unloaded[1] |
ความยาว | 1,226 มิลลิเมตร (48.3 นิ้ว)[1] |
ความยาวลำกล้อง | 625 มิลลิเมตร (24.6 นิ้ว)[1] |
กระสุน | 7.62×54mmR[1] |
การทำงาน | ระบบแก๊ส |
ความเร็วปากกระบอก | 830–840 m/s (2,720–2,760 ft/s)[5] (light bullet arr. 1908) |
ระยะหวังผล | 500 m (550 yards), 800+ m (875+ yards with optics) |
ระบบป้อนกระสุน | แบบบรรจุใส่ 5 นัด |
ศูนย์เล็ง | Rear: ladder, graduated from 100 m to 2,000 m (M91/30) and from 100 m to 1,000 m (M38 and M44) ; Front: hooded fixed post (drift adjustable) PU 3.5 and PEM scope also mounted |
เอสวีที-40 (อังกฤษ: SVT-40,}ย่อมาอังกฤษ: Samozaryadnaya Vintovka Tokareva, Obrazets 1940 godaรัสเซีย: Самозарядная винтовка Токарева, образец 1940 года) ปืนไรเฟิลของสหภาพโซเวียตผลิตใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งใจจะเป็นปืนไรเฟิลประจำการใหม่ของกองทัพแดงโซเวียตแทนปืนไรเฟิลโมซิน-นากานท์ แต่การผลิตได้หยุดชะงักจากการรุกรานของเยอรมนี ทำให้การผลิตช้าซึงทำให้กองทัพหันไปใช้ปืนไรเฟิลโมซิน-นากานท์ซึ่งการผลิตได้รวดเร็วกว่า
ประจำการ
[แก้]ส่วนนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาส่วนนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก |
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน
- สาธารณรัฐประชาชนแอลเบเนีย
- แอลจีเรีย
- แองโกลา
- อาร์มีเนีย
- ออสเตรเลีย
- อาเซอร์ไบจาน
- บาห์เรน
- บังกลาเทศ
- บาร์เบโดส
- เบลารุส
- เบอร์มิวดา
- โบลิเวีย
- บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
- บอตสวานา
- บราซิล
- สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
- บูร์กินาฟาโซ
- บุรุนดี
- กัมพูชา
- แคเมอรูน
- กาบูเวร์ดี
- ชาด
- จีน: ใช้โดย กองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLA)
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
- โกตดิวัวร์
- โครเอเชีย
- คิวบา
- ไซปรัส
- เชโกสโลวาเกีย
- เดนมาร์ก
- จิบูตี
- สาธารณรัฐโดมินิกัน
- ติมอร์-เลสเต
- อียิปต์
- เอริเทรีย
- เอสโตเนีย
- ฟีจี
- ฟินแลนด์ (ยึดมาได้จากกองทัพโซเวียต)
- กาบอง
- จอร์เจีย[6]
- เยอรมนีตะวันออก
- ไรช์เยอรมัน (ยึดมาได้จากกองทัพโซเวียต)[7]
- กรีซ
- กรีเนดา
- กัวเตมาลา
- เฮติ
- ฮ่องกง
- สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
- ไอซ์แลนด์
- อินเดีย
- อินโดนีเซีย
- อิหร่าน
- ไอร์แลนด์
- อิสราเอล
- จาเมกา
- จอร์แดน
- คาซัคสถาน
- เคนยา
- อิตาลี
- เกาหลีเหนือ
- ลัตเวีย
- ไลบีเรีย
- ลีชเทินชไตน์
- ลิทัวเนีย
- มาดากัสการ์
- มาลาวี
- มาเลเซีย
- มัลดีฟส์
- มอลตา
- มองโกเลีย
- โมร็อกโก
- โมซัมบิก
- พม่า
- นามิเบีย
- เนปาล
- นิวซีแลนด์
- ไนเจอร์
- นอร์เวย์
- โอมาน
- ปานามา
- ปาปัวนิวกินี
- เปรู
- ฟิลิปปินส์ (ใช้โดยกองกำลังกบฎและรัฐบาลยึดมาได้จากกองกำลังกบฎในการก่อการกำเริบ Hukbalahap)
- สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
- กาตาร์
- สาธารณรัฐจีน
- สาธารณรัฐคองโก
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
- รวันดา
- ซาอุดีอาระเบีย
- เซเนกัล
- เซอร์เบีย
- เซเชลส์
- เซียร์ราลีโอน
- สิงคโปร์
- สโลวาเกีย
- โซมาเลีย
- สหภาพโซเวียต
- แอฟริกาใต้
- เกาหลีใต้
- ซูดานใต้
- ศรีลังกา
- ซูดาน
- ซูรินาม
- ซีเรีย
- เอสวาตินี
- สวิตเซอร์แลนด์
- แทนซาเนีย
- ไทย
- ตองงา
- ตรินิแดดและโตเบโก
- ตูนิเซีย
- ยูกันดา
- ยูเครน
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- สหรัฐ
- นครรัฐวาติกัน
- เวียดนาม
- เยเมน
- ยูโกสลาเวีย
- แซมเบีย
- ซิมบับเว
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Modern Firearms article on SVT-40". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2003-12-16. สืบค้นเมื่อ 2016-09-14.
- ↑ "К исходу 1942 года производство самозарядных винтовок было прекращено"
В.Н. Новиков. Накануне и в дни испытаний. Воспоминания. М., Политиздат, 1988. стр.74 - ↑ Steve Kehaya; Joe Poyer (1996). The SKS Carabine (CKC45g) (4th ed.). North Cape Publications, Inc. p. 10. ISBN 1-882391-14-4.
- ↑ Edward Clinton Ezell (1983). Small Arms of the World: A Basic Manual of Small Arms (12th ed.). Stackpole Books. pp. 894. ISBN 0-8117-1687-2.
- ↑
- May 1946 (U.S.) Intelligence Bulletin on Tokarev M1940 gives 2720 ft/s
- Семен Федосеев, "Самозарядная винтовка Токарева", Техника и вооружение, June 2005, p. 16, gives 840 m/s
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อJane
- ↑ W. Darrin Weaver (2005). Desperate Measures: The Last-Ditch Weapons of the Nazi Volkssturm. Collector Grade Publications. p. 61. ISBN 0889353727.