อักษรไว
อักษรไว ꕙꔤ | |
---|---|
ชนิด | |
ช่วงยุค | คริสต์ทศวรรษ 1830–ปัจจุบัน |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษาไว |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Vaii (470), Vai |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Vai |
ช่วงยูนิโคด | U+A500–U+A63F |
ชุดตัวหนังสือพยางค์ไว เป็นระบบการเขียนแบบพยางค์สำหรับภาษาไวโดยโมโมลู ดูวาลู บูเกเลแห่งจอนดู ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเทศมณฑลแกรนด์เคปเมานต์ ประเทศไลบีเรีย[1][2][3] สังคมไวและนักวิชาการส่วนใหญ่ถือให้โมโมลูเป็นผู้คิดค้นและผู้สนับสนุนอักษรไวตอนที่มีการบันทึกครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1830 อักษรไวถือเป็นหนึ่งในสองอักษรพื้นเมืองที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในแอฟริกาตะวันตกทั้งในด้านจำนวนผู้ใช้งานในปัจจุบันกับการใช้งานในวรรณกรรม ส่วนอีกอักษรหนึ่งคืออักษรอึนโก[4] [5]
พยางค์
[แก้]e | i | a | o | u | ɔ | ɛ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
‑ | ꔀ | ꔤ | ꕉ | ꕱ | ꖕ | ꖺ | ꗡ |
‑̃ | ꔁ | ꔥ | ꕊ | ꕲ | ꖖ | ꖻ | ꗢ |
ŋ‑̃ | ꕋ | ꖼ | ꗣ | ||||
h‑ | ꔂ | ꔦ | ꕌ | ꕳ | ꖗ | ꖽ | ꗤ |
h‑̃ | ꔧ | ꕍ | ꖘ | ꖾ | ꗥ | ||
w‑ | ꔃ | ꔨ | ꕎ | ꕴ | ꖙ | ꖿ | ꗦ |
w‑̃ | ꔄ | ꔩ | ꕏ | ꕵ | ꖚ | ꗀ | ꗧ |
p‑ | ꔅ | ꔪ | ꕐ | ꕶ | ꖛ | ꗁ | ꗨ |
b‑ | ꔆ | ꔫ | ꕑ | ꕷ | ꖜ | ꗂ | ꗩ |
ɓ‑ | ꔇ | ꔬ | ꕒ | ꕸ | ꖝ | ꗃ | ꗪ |
mɓ‑ | ꔈ | ꔭ | ꕓ | ꕹ | ꖞ | ꗄ | ꗫ |
kp‑ | ꔉ | ꔮ | ꕔ | ꕺ | ꖟ | ꗅ | ꗬ |
kp‑̃ | ꕕ | ꗭ | |||||
mgb‑ | ꔊ | ꔯ | ꕖ | ꕻ | ꖠ | ꗆ | ꗮ |
gb‑ | ꔋ | ꔰ | ꕗ | ꕼ | ꖡ | ꗇ | ꗯ |
gb‑̃ | ꗈ | ꗰ | |||||
f‑ | ꔌ | ꔱ | ꕘ | ꕽ | ꖢ | ꗉ | ꗱ |
v‑ | ꔍ | ꔲ | ꕙ | ꕾ | ꖣ | ꗊ | ꗲ |
t‑ | ꔎ | ꔳ | ꕚ | ꕿ | ꖤ | ꗋ | ꗳ |
θ‑ | ꔏ | ꔴ | ꕛ | ꖀ | ꖥ | ꗌ | ꗴ |
d‑ | ꔐ | ꔵ | ꕜ | ꖁ | ꖦ | ꗍ | ꗵ |
ð‑ | ꔑ | ꔶ | ꕝ | ꖂ | ꖧ | ꗎ | ꗶ |
l‑ | ꔒ | ꔷ | ꕞ | ꖃ | ꖨ | ꗏ | ꗷ |
r‑ | ꔓ | ꔸ | ꕟ | ꖄ | ꖩ | ꗐ | ꗸ |
ɗ‑ | ꔔ | ꔹ | ꕠ | ꖅ | ꖪ | ꗑ | ꗹ |
nɗ‑ | ꔕ | ꔺ | ꕡ | ꖆ | ꖫ | ꗒ | ꗺ |
s‑ | ꔖ | ꔻ | ꕢ | ꖇ | ꖬ | ꗓ | ꗻ |
ʃ‑ | ꔗ | ꔼ | ꕣ | ꖈ | ꖭ | ꗔ | ꗼ |
z‑ | ꔘ | ꔽ | ꕤ | ꖉ | ꖮ | ꗕ | ꗽ |
ʒ‑ | ꔙ | ꔾ | ꕥ | ꖊ | ꖯ | ꗖ | ꗾ |
tʃ‑ | ꔚ | ꔿ | ꕦ | ꖋ | ꖰ | ꗗ | ꗿ |
dʒ‑ | ꔛ | ꕀ | ꕧ | ꖌ | ꖱ | ꗘ | ꘀ |
ndʒ‑ | ꔜ | ꕁ | ꕨ | ꖍ | ꖲ | ꗙ | ꘁ |
j‑ | ꔝ | ꕂ | ꕩ | ꖎ | ꖳ | ꗚ | ꘂ |
k‑ | ꔞ | ꕃ | ꕪ | ꖏ | ꖴ | ꗛ | ꘃ |
k‑̃ | ꕫ | ||||||
ŋg‑ | ꔟ | ꕄ | ꕬ | ꖐ | ꖵ | ꗜ | ꘄ |
ŋg‑̃ | ꘅ | ||||||
g‑ | ꔠ | ꕅ | ꕭ | ꖑ | ꖶ | ꗝ | ꘆ |
g‑̃ | ꘇ | ||||||
m‑ | ꔡ | ꕆ | ꕮ | ꖒ | ꖷ | ꗞ | ꘈ |
n‑ | ꔢ | ꕇ | ꕯ | ꖓ | ꖸ | ꗟ | ꘉ |
ɲ‑ | ꔣ | ꕈ | ꕰ | ꖔ | ꖹ | ꗠ | ꘊ |
e | i | a | o | u | ɔ | ɛ |
พยางค์เพิ่มเติม
[แก้]สัญลักษณ์ | การใช้งาน[6] |
---|---|
ꘋ | พยางค์ท้าย ŋ |
ꘌ | พยางค์ขยายเสียงสระ (เพื่อระบุสระเสียงยาว) |
เครื่องหมายวรรคตอน
[แก้]อักษรไวมีเครื่องหมายวรรคตอนแบบพื้นฐานดังนี้:[6]
สัญลักษณ์ | การใช้งาน |
---|---|
꘍ | จุลภาค (,) |
꘎ | จุด (.) |
꘎꘎ | อัศเจรีย์ (!) |
꘏ | ปรัศนี (?) |
เครื่องหมายวรรคตอนเพิ่มเติมนำมาจากแบบยุโรป
สัญลักษณ์ในอดีต
[แก้]ตัวหนังสือคำ
[แก้]ข้อความอักษรไวเก่าใช้ตัวหนังสือคำหลายแบบ เฉพาะ ꘓ และ ꘘ เท่านั้นที่ยังคงใช้งานอยู่[6]
ตัวหนังสือคำ | ออกเสียง | ชุดตัวหนังสือพยางค์ | ความหมาย |
---|---|---|---|
ꘓ | feŋ | ꔌꘋ | สิ่งของ |
ꘔ | keŋ | ꔞꘋ | เท้า |
ꘕ | tiŋ | ꔳꘋ | เกาะ |
ꘖ | nii; kpɛ kɔwu | ꕇꔦꗬ ꗛꖙ}} | วัว; ลังจิน |
ꘗ | ɓaŋ | ꕒꘋ | สำเร็จ |
ꘘ | faa | ꕘꕌ | ตาย, ฆ่า |
ꘙ | taa | ꕚꕌ | ไป, เดินทาง |
ꘚ | ɗaŋ | ꕠꘋ | ได้ยิน, เข้าใจ |
ꘛ | ɗoŋ | ꖅꘋ | เข้า |
ꘜ | kuŋ | ꖴꘋ | หัว, สามารถ |
ꘝ | tɔŋ | ꗋꘋ | มีชื่อ |
ꘞ | ɗɔɔ | ꗑꖽ | ตัวเล็ก |
ꘟ | dʒɔŋ | ꗘꘋ | ทาส |
ꔔ | ɗeŋ | ꔔꘋ | เด็ก, เล็ก |
ꕪ* | kai | ꕪꔦ | ผู้ชาย |
ꗑ | lɔ | ꗏ | ใน |
- <ka> ปัจจุบัน ในอดีตใช้รูป ꘑ สำหรับเสียง <ka>
ตัวเลข
[แก้]อักษรไวใช้ตัวเลขอาหรับ (0–9) ในคริสต์ทศวรรษ 1920 เคยมีการประดิษฐ์ตัวเลขไวแต่ไม่ได้นำมาใช้งาน:[7]
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
꘠ | ꘡ | ꘢ | ꘣ | ꘤ | ꘥ | ꘦ | ꘧ | ꘨ | ꘩ |
หนังสือโรรา
[แก้]Kaali Bala Ndole Wano หนึ่งในลูกพี่ลูกน้องของโมโมลู ดูวาลู บูเกเล เขียน หนังสืออึนโดเล หรือ หนังสือโรรา ในช่วง ค.ศ. 1845 ภายใต้นามปากกา โรรา เอกสารตัวเขียนเกือบ 50 หน้ามีสัญลักษณ์ที่ปัจจุบันไม่ใช้งานแล้วบางส่วน:[6]
รูปอดีต | ꘐ | ꘑ | ꘒ | ꘪ | ꘫ |
---|---|---|---|---|---|
รูปปัจจุบัน | ꕘ | ꕪ | ꖇ | ꕮ | ꗑ |
ยูนิโคด
[แก้]ไว Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+A50x | ꔀ | ꔁ | ꔂ | ꔃ | ꔄ | ꔅ | ꔆ | ꔇ | ꔈ | ꔉ | ꔊ | ꔋ | ꔌ | ꔍ | ꔎ | ꔏ |
U+A51x | ꔐ | ꔑ | ꔒ | ꔓ | ꔔ | ꔕ | ꔖ | ꔗ | ꔘ | ꔙ | ꔚ | ꔛ | ꔜ | ꔝ | ꔞ | ꔟ |
U+A52x | ꔠ | ꔡ | ꔢ | ꔣ | ꔤ | ꔥ | ꔦ | ꔧ | ꔨ | ꔩ | ꔪ | ꔫ | ꔬ | ꔭ | ꔮ | ꔯ |
U+A53x | ꔰ | ꔱ | ꔲ | ꔳ | ꔴ | ꔵ | ꔶ | ꔷ | ꔸ | ꔹ | ꔺ | ꔻ | ꔼ | ꔽ | ꔾ | ꔿ |
U+A54x | ꕀ | ꕁ | ꕂ | ꕃ | ꕄ | ꕅ | ꕆ | ꕇ | ꕈ | ꕉ | ꕊ | ꕋ | ꕌ | ꕍ | ꕎ | ꕏ |
U+A55x | ꕐ | ꕑ | ꕒ | ꕓ | ꕔ | ꕕ | ꕖ | ꕗ | ꕘ | ꕙ | ꕚ | ꕛ | ꕜ | ꕝ | ꕞ | ꕟ |
U+A56x | ꕠ | ꕡ | ꕢ | ꕣ | ꕤ | ꕥ | ꕦ | ꕧ | ꕨ | ꕩ | ꕪ | ꕫ | ꕬ | ꕭ | ꕮ | ꕯ |
U+A57x | ꕰ | ꕱ | ꕲ | ꕳ | ꕴ | ꕵ | ꕶ | ꕷ | ꕸ | ꕹ | ꕺ | ꕻ | ꕼ | ꕽ | ꕾ | ꕿ |
U+A58x | ꖀ | ꖁ | ꖂ | ꖃ | ꖄ | ꖅ | ꖆ | ꖇ | ꖈ | ꖉ | ꖊ | ꖋ | ꖌ | ꖍ | ꖎ | ꖏ |
U+A59x | ꖐ | ꖑ | ꖒ | ꖓ | ꖔ | ꖕ | ꖖ | ꖗ | ꖘ | ꖙ | ꖚ | ꖛ | ꖜ | ꖝ | ꖞ | ꖟ |
U+A5Ax | ꖠ | ꖡ | ꖢ | ꖣ | ꖤ | ꖥ | ꖦ | ꖧ | ꖨ | ꖩ | ꖪ | ꖫ | ꖬ | ꖭ | ꖮ | ꖯ |
U+A5Bx | ꖰ | ꖱ | ꖲ | ꖳ | ꖴ | ꖵ | ꖶ | ꖷ | ꖸ | ꖹ | ꖺ | ꖻ | ꖼ | ꖽ | ꖾ | ꖿ |
U+A5Cx | ꗀ | ꗁ | ꗂ | ꗃ | ꗄ | ꗅ | ꗆ | ꗇ | ꗈ | ꗉ | ꗊ | ꗋ | ꗌ | ꗍ | ꗎ | ꗏ |
U+A5Dx | ꗐ | ꗑ | ꗒ | ꗓ | ꗔ | ꗕ | ꗖ | ꗗ | ꗘ | ꗙ | ꗚ | ꗛ | ꗜ | ꗝ | ꗞ | ꗟ |
U+A5Ex | ꗠ | ꗡ | ꗢ | ꗣ | ꗤ | ꗥ | ꗦ | ꗧ | ꗨ | ꗩ | ꗪ | ꗫ | ꗬ | ꗭ | ꗮ | ꗯ |
U+A5Fx | ꗰ | ꗱ | ꗲ | ꗳ | ꗴ | ꗵ | ꗶ | ꗷ | ꗸ | ꗹ | ꗺ | ꗻ | ꗼ | ꗽ | ꗾ | ꗿ |
U+A60x | ꘀ | ꘁ | ꘂ | ꘃ | ꘄ | ꘅ | ꘆ | ꘇ | ꘈ | ꘉ | ꘊ | ꘋ | ꘌ | ꘍ | ꘎ | ꘏ |
U+A61x | ꘐ | ꘑ | ꘒ | ꘓ | ꘔ | ꘕ | ꘖ | ꘗ | ꘘ | ꘙ | ꘚ | ꘛ | ꘜ | ꘝ | ꘞ | ꘟ |
U+A62x | ꘠ | ꘡ | ꘢ | ꘣ | ꘤ | ꘥ | ꘦ | ꘧ | ꘨ | ꘩ | ꘪ | ꘫ | ||||
U+A63x |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Migeod, F.W.H. (1909). "The syllabic writing of the Vai people". Journal of the African Society. 9 (33): 46–58. JSTOR 715184.
- ↑ Massaquoi, Momolu (1911). "The Vai people and their syllabic writing". Journal of the African Society. 10 (40): 459–466. JSTOR 714743.
- ↑ Coulmas, Florian (1996). The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems. Wiley-Blackwell. pp. 537–539. ISBN 978-0-631-21481-6.
- ↑ Unseth, Peter (2011). "Invention of Scripts in West Africa for Ethnic Revitalization". ใน Fishman, Joshua A.; García, Ofelia (บ.ก.). Handbook of Language and Ethnic Identity: The Success-Failure Continuum in Language and Ethnic Identity Efforts. Vol. 2. New York: Oxford University Press. pp. 23–32. ISBN 978-0-19-983799-1.
- ↑ "British Library Documents showing the Vai script". www.bl.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-08-11. สืบค้นเมื่อ 2022-01-11.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 "ISO/IEC JTC1/SC2/WG2 N2948R: Proposal to add the Vai script to the BMP of the UCS" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-01-26. สืบค้นเมื่อ 22 February 2012.
- ↑ "ISO/IEC JTC1/SC2/WG2 N3081R: Proposal for addition of Vai characters to the UCS" (PDF). สืบค้นเมื่อ 22 February 2012.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Everson, Michael; Charles Riley; José Rivera (2005-08-01). "Proposal to add the Vai script to the BMP of the UCS" (PDF). Working Group Document. International Organization for Standardization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-01-26. สืบค้นเมื่อ 2022-02-23.
- Fatima Massaquoi-Fahnbulleh. 1963. "The Seminar on the Standardization of the Vai script," in University of Liberia Journal Vol. 3, No. 1, pp. 15–37.
- "Vai syllabary". Omniglot. สืบค้นเมื่อ 16 June 2010.
- Tuchscherer, Konrad. 2005. "History of Writing in Africa." In Africana: The Encyclopedia of the African and African American Experience (second edition), ed. by Kwame Anthony Appiah and Henry Louis Gates, Jr., pp. 476–480. New York: Oxford University Press.
- Tuchscherer, Konrad. 2002 (with P.E.H. Hair). "Cherokee and West Africa: Examining the Origins of the Vai Script," History in Africa, 29, pp. 427–486.
- Tuchscherer, Konrad. 2001. "The Vai Script," in Liberia: Africa's First Republic (Footsteps magazine). Petersborough, NH: Cobblestone Press.
- Tykhostup, Olena and Piers Kelly. 2017. "A diachronic comparison of the Vai script of Liberia (1834–2005)." Journal of Open Humanities Data 4:2. doi: http://doi.org/10.5334/johnd.10.