นิโฮเนียม
หน้าตา
นิโฮเนียม | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
การอ่านออกเสียง | /nɪˈhoʊniəm/ | |||||
Alternative name | เอกา-แทลเลียม | |||||
รูปลักษณ์ | ไม่ทราบ | |||||
เลขมวล | [286] | |||||
นิโฮเนียมในตารางธาตุ | ||||||
| ||||||
เลขอะตอม (Z) | 113 | |||||
หมู่ | group 13 (boron group) | |||||
คาบ | คาบที่ 7 | |||||
บล็อก | บล็อก-p | |||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Rn] 5f14 6d10 7s2 7p1 (predicted)[1] | |||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 32, 32, 18, 3 (คาดว่า) | |||||
สมบัติทางกายภาพ | ||||||
วัฏภาค ณ STP | ของแข็ง (คาดว่า)[1][2][3] | |||||
จุดหลอมเหลว | 700 K (430 °C, 810 (คาดว่า)[1] °F) | |||||
จุดเดือด | 1430 K (1130 °C, 2070 (คาดว่า)[1][2] °F) | |||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 16 (คาดว่า)[1] g/cm3 | |||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 7.61 (extrapolated)[3] kJ/mol | |||||
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 130 (คาดว่า)[2] kJ/mol | |||||
สมบัติเชิงอะตอม | ||||||
เลขออกซิเดชัน | (−1), (+1), (+3), (+5) (predicted)[1][4][5] | |||||
พลังงานไอออไนเซชัน |
| |||||
รัศมีอะตอม | empirical: 170 (คาดว่า)[1] pm | |||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 172–180 (extrapolated)[3] pm | |||||
สมบัติอื่น | ||||||
เลขทะเบียน CAS | 54084-70-7 | |||||
ประวัติศาสตร์ | ||||||
การค้นพบ | สถาบันร่วมเพื่อการวิจัยนิวเคลียร์ ห้องปฏิบัติการแห่งชาติ ลอว์เรนซ์ ลิเวอร์มอร์ (2003) | |||||
ไอโซโทปของนิโฮเนียม | ||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของนิโฮเนียม | ||||||
นิโฮเนียม (อังกฤษ: Nihonium; สัญลักษณ์ Nh) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 113 นิโฮเนียมเป็นธาตุหนักที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นใหม่ยังไม่รายละเอียดมากนัก มีอีกชื่อหนึ่งว่าเอกา-แทลเลียม (eka-thallium) ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2016 IUPAC เสนอชื่อ นิโฮเนียม (nihonium; สัญลักษณ์ธาตุ Nh) เป็นชื่อทางการของธาตุนี้ ชื่อ "นิโฮเนียม" มาจาก "นิฮง" (Nihon) อันเป็นชื่อเรียกประเทศญี่ปุ่นในภาษาญี่ปุ่น[8]
รายการอ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 Hoffman, Darleane C.; Lee, Diana M.; Pershina, Valeria (2006). "Transactinides and the future elements". ใน Morss; Edelstein, Norman M.; Fuger, Jean (บ.ก.). The Chemistry of the Actinide and Transactinide Elements (3rd ed.). Dordrecht, The Netherlands: Springer Science+Business Media. ISBN 978-1-4020-3555-5.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Seaborg, Glenn T. (c. 2006). "transuranium element (chemical element)". Encyclopædia Britannica. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 Bonchev, Danail; Kamenska, Verginia (1981). "Predicting the Properties of the 113–120 Transactinide Elements". J. Phys. Chem. 85: 1177–1186.
- ↑ Fricke, Burkhard (1975). "Superheavy elements: a prediction of their chemical and physical properties". Recent Impact of Physics on Inorganic Chemistry. Structure and Bonding. 21: 89–144. doi:10.1007/BFb0116498. ISBN 978-3-540-07109-9. สืบค้นเมื่อ 4 October 2013.
- ↑ Thayer, John S. (2010). "Relativistic Effects and the Chemistry of the Heavier Main Group Elements". ใน Barysz, Maria; Ishikawa, Yasuyuki (บ.ก.). Relativistic Methods for Chemists. Challenges and Advances in Computational Chemistry and Physics. Vol. 10. Springer. pp. 63–67. doi:10.1007/978-1-4020-9975-5_2. ISBN 978-1-4020-9974-8.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 Fricke, Burkhard (1975). "Superheavy elements: a prediction of their chemical and physical properties". Recent Impact of Physics on Inorganic Chemistry. 21: 89–144. doi:10.1007/BFb0116498. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2013.
- ↑ Thayer, John S. (2010). Relativistic Effects and the Chemistry of the Heavier Main Group Elements. Relativistic Methods for Chemists. Challenges and Advances in Computational Chemistry and Physics. Vol. 10. p. 82. doi:10.1007/978-1-4020-9975-5_2.
- ↑ "IUPAC Is Naming The Four New Elements Nihonium, Moscovium, Tennessine, And Oganesson". IUPAC. 2016-06-08. สืบค้นเมื่อ 2016-06-08.