ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกษม ศรีพยัคฆ์"
Railway1234 (คุย | ส่วนร่วม) ล →ประวัติ |
Railway1234 (คุย | ส่วนร่วม) ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 20: | บรรทัด 20: | ||
== ประวัติ == |
== ประวัติ == |
||
เกษม ศรีพยัคฆ์ เกิดเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] พ.ศ. 2463 ได้รับทุนของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย|กรมรถไฟหลวง]] ไปศึกษาต่อประเทศอังกฤษ ที่โรงเรียนไบรตันเทคนิกัลคอลเลจ [[ประเทศอังกฤษ]] จบปริญญาตรี ด้านการพาณิชย์ [[มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม]] [[ประเทศอังกฤษ]] พ.ศ. 2468 เข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง ประจำกองเดินรถ กองอำนวยการเดินรถ พ.ศ. 2469 เป็นสารวัตรประจำ ดูแลรักษาแขวงพิษณุโลก พ.ศ.2471 เป็นสารวัตรตรวจการเดินรถหาดใหญ่ พ.ศ.2481 ได้รับการแต่งตั้งเป็น หัวหน้ากองเดินรถ กรมรถไฟ กระทรวงเศรษฐการ พ.ศ. 2490 ดำรงตำแหน่งรอง[[อธิบดีกรมรถไฟ]] กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2498 ได้รับประกาศนียบัตรหลักสูตรของ[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] [[กระทรวงกลาโหม]] เคยได้รับการแต่งตั้งเป็น[[ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย]]เมื่อ 25 กรกฎาคม 2498 - 23 กรกฎาคม 2501 |
เกษม ศรีพยัคฆ์ เกิดเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] พ.ศ. 2463 ได้รับทุนของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย|กรมรถไฟหลวง]] ไปศึกษาต่อประเทศอังกฤษ ที่โรงเรียนไบรตันเทคนิกัลคอลเลจ [[ประเทศอังกฤษ]] จบปริญญาตรี ด้านการพาณิชย์ [[มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม]] [[ประเทศอังกฤษ]] พ.ศ. 2468 เข้ารับราชการใน[[การรถไฟแห่งประเทศไทย|กรมรถไฟหลวง]] ประจำกองเดินรถ กองอำนวยการเดินรถ พ.ศ. 2469 เป็นสารวัตรประจำ ดูแลรักษาแขวงพิษณุโลก พ.ศ.2471 เป็นสารวัตรตรวจการเดินรถหาดใหญ่ พ.ศ.2481 ได้รับการแต่งตั้งเป็น หัวหน้ากองเดินรถ กรมรถไฟ กระทรวงเศรษฐการ พ.ศ. 2490 ดำรงตำแหน่งรอง[[อธิบดีกรมรถไฟ]] กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2498 ได้รับประกาศนียบัตรหลักสูตรของ[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] [[กระทรวงกลาโหม]] เคยได้รับการแต่งตั้งเป็น[[ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย]]เมื่อ 25 กรกฎาคม 2498 - 23 กรกฎาคม 2501 |
||
นอกจากนี้ เกษม ศรีพยัคฆ์ ยังได้ทำงานด้านอื่นๆ ดังนี้ พ.ศ. 2485 หัวหน้ากรมส่งเสริมองค์การค้า [[กระทรวงพาณิชย์]] พ.ศ. 2491 อธิบดีกรมการค้าภายใน [[กระทรวงพาณิชย์]] พ.ศ. 2494 ปลัด[[กระทรวงเศรษฐการ]]<ref>[https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Governor/Pages/GovKasem.aspx นายเกษม ศรีพยัคฆ์]</ref> |
นอกจากนี้ เกษม ศรีพยัคฆ์ ยังได้ทำงานด้านอื่นๆ ดังนี้ พ.ศ. 2485 หัวหน้ากรมส่งเสริมองค์การค้า [[กระทรวงพาณิชย์]] พ.ศ. 2491 อธิบดีกรมการค้าภายใน [[กระทรวงพาณิชย์]] พ.ศ. 2494 ปลัด[[กระทรวงเศรษฐการ]]<ref>[https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Governor/Pages/GovKasem.aspx นายเกษม ศรีพยัคฆ์]</ref> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:51, 22 พฤษภาคม 2564
เกษม ศรีพยัคฆ์ | |
---|---|
ไฟล์:เกษม ศรีพยัคฆ์.jpg | |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 | |
ก่อนหน้า | สุนทร หงส์ลดารมภ์ |
ถัดไป | สุนทร หงส์ลดารมภ์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 |
เสียชีวิต | 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 (61 ปี) |
ศาสนา | พุทธ |
คู่สมรส | ท่านผู้หญิงประมูล ศรีพยัคฆ์ |
รองอำมาตย์เอก เกษม ศรีพยัคฆ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์และรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย[1]
ประวัติ
เกษม ศรีพยัคฆ์ เกิดเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย พ.ศ. 2463 ได้รับทุนของกรมรถไฟหลวง ไปศึกษาต่อประเทศอังกฤษ ที่โรงเรียนไบรตันเทคนิกัลคอลเลจ ประเทศอังกฤษ จบปริญญาตรี ด้านการพาณิชย์ มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2468 เข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง ประจำกองเดินรถ กองอำนวยการเดินรถ พ.ศ. 2469 เป็นสารวัตรประจำ ดูแลรักษาแขวงพิษณุโลก พ.ศ.2471 เป็นสารวัตรตรวจการเดินรถหาดใหญ่ พ.ศ.2481 ได้รับการแต่งตั้งเป็น หัวหน้ากองเดินรถ กรมรถไฟ กระทรวงเศรษฐการ พ.ศ. 2490 ดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมรถไฟ กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2498 ได้รับประกาศนียบัตรหลักสูตรของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร กระทรวงกลาโหม เคยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อ 25 กรกฎาคม 2498 - 23 กรกฎาคม 2501
นอกจากนี้ เกษม ศรีพยัคฆ์ ยังได้ทำงานด้านอื่นๆ ดังนี้ พ.ศ. 2485 หัวหน้ากรมส่งเสริมองค์การค้า กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2491 อธิบดีกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2494 ปลัดกระทรวงเศรษฐการ[2]
เกษม ศรีพยัคฆ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2502[3] แล้วดำรงตำแหน่งต่อมาในรัฐบาลของจอมพล ถนอม กิตติขจร[4] ก่อนจพพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากถึงแก่อนิจกรรมเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508[5]
เกษม ศรีพยัคฆ์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 ขณะยังดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ มีพิธีพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส 24 พฤศจิกาย พ.ศ. 2508[6]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2503 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[7]
- พ.ศ. 2502 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[8]
- พ.ศ. 2504 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[9]
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)
อ้างอิง
- ↑ ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบัน
- ↑ นายเกษม ศรีพยัคฆ์
- ↑ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๑๙ ราย)
- ↑ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 30 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
- ↑ อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายเกษม ศรีพยัคฆ์ ม.ป.ช.,ม.ว.ม.,ท.จ.ว.
- ↑ แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
- ↑ แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
- ↑ แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2446
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2508
- นักการเมืองไทย
- บุคคลจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
- บุคคลจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทย
- ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว.
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ภ.ป.ร.1
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ อ.ป.ร.5
- ผู้ได้รับเหรียญจักรพรรดิมาลา