เหงือก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰŋɯəkᴰ¹ᴸ, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰŋɯəkᴰ, จากภาษาจีนเก่า 顎 (OC *ŋaːɡ, “ขากรรไกร”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨦᩮᩬᩥᨠ (หเงอิก), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨦᩮᩥᨠ (หเงิก), ภาษาลาว ເຫງືອກ (เหงือก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦄᦲᧅ (เหฺงีก), ภาษาไทใหญ่ ႁိူၵ်ႇ (เหิ่ก), ภาษาอาหม 𑜀𑜢𑜤𑜀𑜫 (กึก์), ภาษาจ้วง hwek (เหือก), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hwk (เหิก)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เหฺงือก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ngʉ̀ʉak |
ราชบัณฑิตยสภา | ngueak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ŋɯa̯k̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เหงือก
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯k̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ