เรทติคิวโลไซต์
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Reticulocyte)
เรทติคิวโลไซต์ | |
---|---|
Reticulocytes | |
Erythrocytes (mature cells) | |
รายละเอียด | |
เจริญขึ้นเป็น | เม็ดเลือดแดง |
ที่ตั้ง | ไขกระดูก (ส่วนใหญ่), เลือด (บางส่วน) |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | reticulocytus |
MeSH | D012156 |
TH | H2.00.04.1.01007 |
FMA | 66785 |
ศัพท์ทางกายวิภาคของจุลกายวิภาคศาสตร์ |
เรทติคิวโลไซต์[1] (อังกฤษ: reticulocyte) หรือ ริทิคิวโลไซต์ เป็นเม็ดเลือดแดงตัวอ่อนระยะหนึ่งในกระบวนการพัฒนาเม็ดเลือดแดง โดยจะถูกสร้างและเจริญขึ้นที่ไขกระดูก จากนั้นจึงเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดเป็นระยะเวลาประมาณหนึ่งวันก่อนที่จะพัฒนากลายเป็นเม็ดเลือดแดงระยะเต็มวัย ริทิคิวโลไซต์ไม่มีนิวเคลียส แต่ยังมีไรโบโซมอลอาร์เอ็นเออยู่ในเซลล์ เมื่อมองด้วยกล้องจุลทรรศน์และย้อมสีด้วยนิวเมทิลีนบลูหรือสีย้อมโรมานาวสกีจะเห็นเป็นตาข่าย (reticular) เป็นที่มาของชื่อ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ มนัสธีรภาพ, ลัดดาวัลย์; เดิมสังข์, กันตา; นัคราบัณฑิตย์, นวลตา; นพรัตน์, ชวดี (2014). "ความคงตัวของเรทติคิวโลไซต์ในตัวอย่างเลือดเก็บที่อุณหภูมิ 25 และ 4 องศาเซลเซียส ในช่วงเวลา 72 ชั่วโมง" (PDF). วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์บริการโลหิต. 24 (3): 269–276. สืบค้นเมื่อ 13 Jul 2022.