ข้ามไปเนื้อหา

โซยุซ เอ็มเอส-03

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โซยุซ เอ็มเอส-03
จรวดโซยุซเอ็มเอส-03 เชื่อมจรวดกับสถานีอวกาศนานาชาติ
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ควบคุมรัฐวิสาหกิจรอสคอสมอส
ระยะเวลาภารกิจ196 วัน 17 ชั่วโมง 49 นาที
ลูกเรือ
จำนวนลูกเรือ3 คน (ขากลับ 1 คน)
สมาชิกโอเลก โนวิตสกี
โธมัส เปสเกต์
(ขากลับ: เพกกี เอ. วิทสัน)
เริ่มภารกิจ
ข้อมูล17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
20:17 UTC
ที่ปล่อยบัยโกเงอร์ ลาน 1/5
สิ้นสุดภารกิจ
ข้อมูล2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
14:10 UTC
ภารกิจ
ก่อนหน้านี้โซยุซ เอ็มเอส-02
หลังจากนี้โซยุซ เอ็มเอส-04

โซยุซ เอ็มเอส-03 เป็นโครงการอวกาศโซยุซที่เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559[1] โดยเป็นการส่งนักบินอวกาศ 3 คนจากโครงการเอ็กแพรนดิชัน 50 เอ็มเอส-02 เป็นโครงการอวกาศโซยุซครั้งที่ 132 ประกอบไปด้วยผู้บัญชาการชาวรัสเซีย และวิศวกรชาวผรั่งเศส และชาวอเมริกา

ลูกเรือ

[แก้]
ตำแหน่ง[2] การปล่อยของลูกเรือ การลงจอดของลูกเรือ
ผู้บัญชาการ รัสเซีย โอเลก โนวิตสกี, อาร์เอสเอ
เอ็กแพรนดิชัน 50
ขึ้นสู่อวกาศครั้งสองใน
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 1 ฝรั่งเศส โธมัส เปสเกต์, อีเอสอาร์
เอ็กแพรนดิชัน 50
ขึ้นสู่อวกาศครั้งแรกใน
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 2 สหรัฐอเมริกา เพกกี เอ. วิทสัน, นาซา
เอ็กแพรนดิชัน 50
ขึ้นสู่อวกาศครั้งสามและสุดท้าย[4]
N/A[3]

ขากลับ

[แก้]
ตำแหน่ง[5] จำนวนลูกเรือ
ผู้บัญชาการ รัสเซีย ฟโยดอฟ ยูรชิกิล, อาร์เอสเอ
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 1 อิตาลี เปาโล เนสโปริ, อีเอสเอ
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 2 สหรัฐอเมริกา แจ็ก ดี. ฟริซเชอร์, นาซา

ภารกิจ

[แก้]

โซยุซ เอ็มเอส-03 เป็นการส่งนักบินอวกาศจากโครงการเอ็กแพรนดิชัน 50/51 เปิดตัวเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เวลา 20:17 ตามเวลาสากลเชิงพิกัด เพกกี เอ. วิทสัน เป็นนักบินอวกาศหญิงผู้ที่มีอายุถึง 57 ปี ซึ่งเป็นนักบินอวกาศที่มีอายุเยอะที่สุดในอวกาศ[6][7]

โซยุซ เอ็มเอส-03 ได้เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศนานาชาติเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560[8]

เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2560 จรวดโซยุซได้ปลดจากสถานีอวกาศนานาชาติ โดยได้ส่งนักบินอวกาศกลับมาสู่โลก ใช้ระยะอยู่บนอวกาศ 196 วัน ส่วนเพกกี เอ. วิทสั ได้อยู่ต่อในสถานีอวกาศนานาชาติ กลับมาในภารกิจโซยุซ เอ็มเอส-04 เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2560

อ้างอิง

[แก้]
  1. http://russianspaceweb.com/soyuz-ms-03.html
  2. Планируемые полёты (ภาษารัสเซีย). astronaut.ru. สืบค้นเมื่อ 13 March 2014.
  3. Harwood, William. "Whitson's station expedition extended three months". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ 5 April 2017.
  4. Potter, Sean (15 June 2018). "Record-Setting NASA Astronaut Peggy Whitson Retires". NASA (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 June 2018.
  5. astronaut.ru (2015). "Планируемые полёты" (ภาษารัสเซีย).
  6. "NASA's Peggy Whitson Becomes Oldest Woman in Space - ABC News". Abcnews.go.com. สืบค้นเมื่อ 2016-11-19.
  7. Chiara Palazzo Associated Press. "Nasa veteran Peggy Whitson becomes the oldest woman in space as she blasts off for ISS". Telegraph.co.uk. สืบค้นเมื่อ 2016-11-19.
  8. "Welcome Aboard! New Arrivals Make Six Expedition 50 Crew Members | Space Station". blogs.nasa.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-25. สืบค้นเมื่อ 2016-11-24.