เอเชียนคัพ 2019 กลุ่มเอ
กลุ่มเอของเอเชียนคัพ 2019 ลงเล่นตั้งแต่วันที่ 5 ถึง 14 มกราคม ค.ศ. 2019[1] กลุ่มนี้ประกอบด้วยเจ้าภาพ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, ไทย, อินเดีย และบาห์เรน[2] ทีมที่ดีที่สุด 2 ทีม อาจพร้อมด้วยทีมอันดับที่ 3 (ถ้าพวกเขามีอันดับเท่ากับหนึ่งในทีมที่ดีที่สุด 4 ทีม) จะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย[3]
ทีม
[แก้]อันดับในการจับสลาก | พื้นที่ | โซน | วิธีการ ผ่านเข้ารอบ |
วันที่ ผ่านเข้ารอบ |
ผลงาน รอบสุดท้าย |
การลงสนาม ครั้งล่าสุด |
ผลงานที่ดีที่สุด ครั้งที่ผ่านมา |
อันดับโลกฟีฟ่า | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เมษายน 2561[nb 1] | ธันวาคม 2561 | ||||||||
A1 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | เอเชียตะวันตก | เจ้าภาพ | 9 มีนาคม 2015 | ที่ 10 | 2015 (อันดับ 3) | รองชนะเลิศ (1996) | 81 | |
A2 | ไทย | อาเซียน | รอบที่ 2 กลุ่มเอฟ ชนะเลิศ | 24 มีนาคม 2016 | ที่ 7 | 2007 (รอบแบ่งกลุ่ม) | อันดับ 3 (1972) | 122 | |
A3 | อินเดีย | เอเชียใต้ | รอบที่ 3 กลุ่มเอ ชนะเลิศ | 11 ตุลาคม 2017 | ที่ 4 | 2011 (รอบแบ่งกลุ่ม) | รองชนะเลิศ (1964) | 97 | |
A4 | บาห์เรน | เอเชียตะวันตก | รอบที่ 3 กลุ่มอี ชนะเลิศ | 14 พฤศจิกายน 2017 | ที่ 6 | 2015 (รอบแบ่งกลุ่ม) | อันดับ 4 (2004) | 116 |
- หมายเหตุ
- ↑ การจัดอันดับฟีฟ่าในเดือนเมษายน 2561 เป็นวิธีที่นำมาใช้ในการจัดอันดับทีมวางในการจับสลากรอบสุดท้าย
ตารางคะแนน
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (H) | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 2 | +2 | 5 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ไทย | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 5 | −2 | 4[a] | |
3 | บาห์เรน | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4[a] | |
4 | อินเดีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 4 | 0 | 3 |
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ
Notes:
- ทีมชนะเลิศของกลุ่มเอ จะได้แข่งกับทีมอันดับที่สามของกลุ่มซี, กลุ่มดี หรือกลุ่มอี
- ทีมรองชนะเลิศของกลุ่มเอ จะได้แข่งกับทีมรองชนะเลิศของกลุ่มซี
- ทีมอันดับที่สามของกลุ่มเอ อาจจะได้แข่งกับทีมชนะเลิศของกลุ่มบีหรือกลุ่มซี
นัด
[แก้]เวลาที่ระบุไว้คือเวลามาตรฐานอ่าว (UTC+4)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ พบ บาห์เรน
[แก้]สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 1–1 | บาห์เรน |
---|---|---|
Khalil 88' (ลูกโทษ) | รายงาน | Al Romaihi 78' |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
|
บาห์เรน
|
|
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[4]
|
ไทย พบ อินเดีย
[แก้]ไทย
|
อินเดีย
|
|
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[4]
|
บาห์เรน พบ ไทย
[แก้]บาห์เรน
|
ไทย
|
|
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[5]
|
อินเดีย พบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
[แก้]อินเดีย | 0–2 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
รายงาน | Khalf. Mubarak 41' Mabkhout 88' |
อินเดีย
|
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
|
|
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[5]
|
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ พบ ไทย
[แก้]สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 1–1 | ไทย |
---|---|---|
Mabkhout 7' | รายงาน | ฐิติพันธ์ 41' |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
|
ไทย
|
|
|
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[6]
|
อินเดีย พบ บาห์เรน
[แก้]อินเดีย | 0–1 | บาห์เรน |
---|---|---|
รายงาน | Rashid 90+1' (ลูกโทษ) |
อินเดีย
|
บาห์เรน
|
|
|
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[6]
|
การคาดโทษ
[แก้]ทีม | นัดที่ 1 | นัดที่ 2 | นัดที่ 3 | คะแนน | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
บาห์เรน | 2 | −2 | |||||||||||
อินเดีย | 2 | −2 | |||||||||||
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 2 | 1 | −3 | ||||||||||
ไทย | 2 | 4 | 1 | −7 |
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ Bughammar was booked on the substitutes' bench, despite not playing any part in the match.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Match Schedule – AFC Asian Cup UAE 2019". the-afc.com. Asian Football Confederation. 7 May 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-07-18. สืบค้นเมื่อ 7 May 2018.
- ↑ "Draw sets stage for exciting AFC Asian Cup UAE 2019". the-afc.com. Asian Football Confederation. 4 May 2018. สืบค้นเมื่อ 4 May 2018.
- ↑ "AFC Asian Cup 2019 Competition Regulations". the-afc.com. Asian Football Confederation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-31. สืบค้นเมื่อ 4 May 2018.
- ↑ 4.0 4.1 "MATCH OFFICIALS FOR JANUARY 5 & 6". the-afc.com. Asian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 5 January 2019.
- ↑ 5.0 5.1 "MATCH OFFICIALS FOR JANUARY 10". AFC. สืบค้นเมื่อ 10 January 2019.
- ↑ 6.0 6.1 "MATCH OFFICIALS FOR JANUARY 14". the-afc.com. AFC. สืบค้นเมื่อ 12 January 2019.