ข้ามไปเนื้อหา

เจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2022

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจลีก ดิวิชัน 1
ฤดูกาล2022
วันที่18 กุมภาพันธ์ – 5 พฤศจิกายน
ทีมชนะเลิศโยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
แชมป์ เจ1 สมัยที่ 5
แชมป์ลีกสูงสุด ญี่ปุ่น สมัยที่ 7
ตกชั้นชิมิซุ เอส-พัลส์
จูบิโล อิวาตะ
แชมเปียนส์ลีกโยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ
จำนวนนัด306
จำนวนประตู769 (2.51 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดตีอาโก ซันตานา
(14 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
ซางัน โทซุ 5–0 ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ
(19 มีนาคม ค.ศ. 2022)

ซางัน โทซุ 5–0 เอ็ฟซี โตเกียว
(26 มิถุนายน ค.ศ. 2022)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
จูบิโล อิวาตะ 0–6 อูราวะ เรดไดมอนส์
(13 สิงหาคม ค.ศ. 2022)
จำนวนประตูสูงสุดคาชิวะ เรย์โซล 3–6 เอ็ฟซี โตเกียว
(27 สิงหาคม ค.ศ. 2022)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
6 นัด
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
9 นัด
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
วิสเซล โคเบะ
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
กัมบะ โอซากะ
จูบิโล อิวาตะ
วิสเซล โคเบะ
จำนวนผู้ชมสูงสุด56,131 คน[1]
ชิมิซุ เอส-พัลส์ 3–5 โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
(2 กรกฎาคม ค.ศ. 2022)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด3,988 คน[1]
ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ 2–0 โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
(6 เมษายน ค.ศ. 2022)
จำนวนผู้ชมรวม4,384,401 คน[1]
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย14,328 คน[1]
2021
2023

เจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2022 หรือ เมจิ ยาซูดะ เจ1 ลีก 2022 (ญี่ปุ่น: 2022 明治安田生命J1リーグโรมาจิ2022 Meiji Yasuda Seimei J1 Rīgu) ตามชื่อผู้สนับสนุน เป็นการแข่งขันเจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาลที่ 30 นับตั้งแต่สถาปนาการแข่งขันใน ค.ศ. 1993

คาวาซากิ ฟรอนตาเลเป็นทีมชนะเลิศจากฤดูกาลที่แล้ว โดยชนะเลิศเป็นสมัยที่สี่ในขณะที่ยังเหลือการแข่งขันอีกสี่นัด[2]

การเปลี่ยนแปลงจากฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]

ในฤดูกาลที่แล้วมีสโมสรที่ตกชั้นจำนวน 4 สโมสร (จากปกติ 2 สโมสร) เนื่องจากไม่มีสโมสรตกชั้นในฤดูกาล 2020 เนื่องจากผลของการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศญี่ปุ่น[3] ซึ่งทำให้จำนวนสโมสรในฤดูกาล 2021 เพิ่มเป็น 20 สโมสร[4] สโมสรที่ตกชั้นได้แก่โทกูชิมะ วอร์ติส, โออิตะ ทรินิตา, เวกัลตะ เซ็นได และโยโกฮามะ ในขณะที่สโมสรที่เลื่อนชั้นขึ้นมาได้แก่จูบิโล อิวาตะ สโมสรชนะเลิศจากเจลีก ดิวิชัน 2 ที่เลื่อนชั้นกลับขึ้นมาหลังจากตกชั้นไป 2 ฤดูกาล และเกียวโต ซังงะ สโมสรรองชนะเลิศดิวิชัน 2 ที่เลื่อนชั้นกลับขึ้นมาหลังจากตกชั้นไป 11 ฤดูกาล

สโมสรที่เข้าแข่งขัน

[แก้]
ที่ตั้งสโมสรในเจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2022 จากเขตมหานครเคฮันชิง
สโมสร ที่ตั้ง สนาม จำนวนผู้ชม ฤดูกาลที่ผ่านมา
คอนซาโดเล ซัปโปโระ ฮกไกโด ซัปโปโระ โดม
ซัปโปโระ อัตสึเบตสึ สเตเดียม
41,484 เจ1 (อันดับที่ 10)
คาชิมะ แอนต์เลอส์ อิบารากิ สนามฟุตบอลคาชิมะ 40,728 เจ1 (อันดับที่ 4)
อูราวะ เรดไดมอนส์ ไซตามะ สนามกีฬาไซตะมะ 2002 63,700 เจ1 (อันดับที่ 6)
คาชิวะ เรย์โซล ชิบะ ฮิตาชิ คาชิวะ สเตเดียม 15,900 เจ1 (อันดับที่ 15)
เอฟซี โตเกียว โตเกียว สนามกีฬาอะยิโนะโมะโตะ 49,970 เจ1 (อันดับที่ 9)
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส คานางาวะ นิสสัน สเตเดียม 72,327 เจ1 (อันดับที่ 2)
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล โทะโดะโระกิสเตเดียม 26,232 เจ1 (อันดับที่ 1)
โชนัน เบลมาเร เลมอน แกส สเตเดียม ฮิรัตซึกะ 18,500 เจ1 (อันดับที่ 16)
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ชิซุโอะกะ ไอเอไอ สเตเดียม 20,339 เจ1 (อันดับที่ 14)
จูบิโล อิวาตะ ยามาฮา สเตเดียม 15,165 เจ2 (อันดับที่ 1)
นาโงยะ แกรมปัส ไอชิ โตโยต้าสเตเดียม 45,000 เจ1 (อันดับที่ 5)
เกียวโต ซังงะ เกียวโต ซังงะ สเตเดียม บาย เคียวเซรา 21,600 เจ2 (อันดับที่ 2)
กัมบะ โอซะกะ โอซะกะ พานาโซนิค สเตเดียม ซุอิตะ 39,694 เจ1 (อันดับที่ 13)
เซเรซโซ โอซะกะ สนามกีฬายันมาร์ 47,853 เจ1 (อันดับที่ 12)
วิสเซล โคเบะ เฮียวโงะ โนเอเวอร์ สเตเดียม 30,132 เจ1 (อันดับที่ 3)
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ ฮิโรชิมะ อีดิออน สเตเดียม 36,894 เจ1 (อันดับที่ 11)
อวิสปา ฟูกูโอกะ ฟูกูโอกะ เบสต์เดนกิสเตเดียม 21,562 เจ2 (อันดับที่ 8)
ซางัน โทซุ ซางะ เอคิมาเอะ สเตเดียม 24,130 เจ1 (อันดับที่ 7)

บุคลากรและผู้ผลิตชุด

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีม กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
กัมบะ โอซากะ   มาซาโนบุ มัตสึนามิ   เก็นตะ มิอูระ   อัมโบร
เกียวโต ซังงะ   โช ควี-แจ   เท็มมะ มัตสึดะ   พูมา
คาชิมะ แอนต์เลอส์   ไดกิ อิวามาสะ   เค็นโตะ มิซาโอะ   ไนกี้
คาชิวะ เรย์โซล   เนลซินโญ บาปิสตา   ฮิเดกาซุ โอตานิ   โยเน็กซ์
คาวาซากิ ฟรอนตาเล   โทรุ โอนิกิ   โชโงะ ทานิงูจิ   พูมา
จูบิโล อิวาตะ   มาซากาซุ ซูซูกิ   Kosuke Yamamoto   พูมา
ชิมิซุ เอส-พัลส์   Zé Ricardo   Valdo   พูมา
โชนัน เบลมาเร   ซาโตชิ ยามางูจิ   ทากูยะ โอกาโมโตะ   Penalty
ซางัน โทซุ   Kenta Kawai   Eduardo   นิวบาลานซ์
ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ   มิชชาเอล ชกิบเบอ   โช ซาซากิ   ไนกี้
เซเรซโซ โอซากะ   อากิโอะ โคงิกุ   ฮิโรชิ คิโยตาเกะ   พูมา
นาโงยะ แกรมปัส   เค็นตะ ฮาเซงาวะ   ยูอิจิ มารูยามะ   มิซูโนะ
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส   เควิน มัสกัต   ทากูยะ คิดะ   อาดิดาส
วิสเซล โคเบะ   อัตสึฮิโระ มิอูระ   อันเดรส อินิเอสตา   เอสิกส์
อวิสปา ฟูกูโอกะ   ชิเงโตชิ ฮาเซเบะ   ฮิโรยูกิ มาเอะ   โยเน็กซ์
อูราวะ เรดไดมอนส์   ริการ์โด โรดริเกซ   ชูซากุ นิชิกาวะ   ไนกี้
เอ็ฟซี โตเกียว   อัลเบร์ต ปูอิก   เคโงะ ฮิงาชิ   นิวบาลานซ์
ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ   มีไฮลอ เปตรอวิช   ฮิโรกิ มิยาซาวะ   มิซูโนะ

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้ารับตำแหน่ง
ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ ญี่ปุ่น เคนตาโระ ซาวาดะ[5] สิ้นสุดการคุมทีมรักษาการ 5 ธันวาคม ค.ศ. 2021 ก่อนเปิดฤดูกาล เยอรมนี มิชาเอล สกิบเบ[6] 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021
กัมบะ โอซากะ ญี่ปุ่น มาซะโนบุ มัตซุนามิ[7] ญี่ปุ่น โทโมะฮิโระ คะตะโนซะกะ[8] 23 ธันวาคม ค.ศ. 2021
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น นาโอกิ โซมะ[9] หมดสัญญา สวิตเซอร์แลนด์ เรเน เวอิเลอร์[10] 10 ธันวาคม ค.ศ. 2021
เอ็ฟซี โตเกียว ญี่ปุ่น ชินิชิ โมริชิตะ[11] สิ้นสุดการคุมทีมรักษาการ สเปน อัลเบร์ต ปูอิก[12]
นาโงยะ แกรมปัส อิตาลี มัสซิโม ฟิคคาเดนติ[13] หมดสัญญา 9 ธันวาคม ค.ศ. 2021 ญี่ปุ่น เคนตะ ฮาเซกาวะ[14] 9 ธันวาคม ค.ศ. 2021
ซางัน โทซุ เกาหลีใต้ คิม มยุง-ฮวี[15] ลาออก 20 ธันวาคม ค.ศ. 2021 ญี่ปุ่น เคนตะ คาวาอิ[16] 24 ธันวาคม ค.ศ. 2021
จูบิโล อิวาตะ ญี่ปุ่น มาซะคาซุ ซูซุกิ[17] 25 ธันวาคม ค.ศ. 2021 ญี่ปุ่น อากิระ อิโตะ[18] 25 ธันวาคม ค.ศ. 2021
วิสเซล โคเบะ ญี่ปุ่น อัตซุฮิโระ มิอุระ[19] ถูกไล่ออก 20 มีนาคม ค.ศ. 2022 อันดับที่ 16 สเปน ยูอิส ปลานากูมา (รักษาการ)[20] 21 มีนาคม ค.ศ. 2022
สเปน ยูอิส ปลานากูมา สิ้นสุดการคุมทีมรักษาการ 8 เมษายน ค.ศ. 2022 อันดับที่ 17 สเปน มิเกล อันเฆล โลตินา[21] 8 เมษายน ค.ศ. 2022
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ญี่ปุ่น ฮิโรอากิ ฮิราโอกะ[22] ถูกไล่ออก 30 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 อันดับที่ 16 ญี่ปุ่น โยชิยูกิ ชิโนดะ (รักษาการ)[22] 30 พฤษภาคม ค.ศ. 2022
ญี่ปุ่น โยชิยูกิ ชิโนดะ สิ้นสุดการคุมทีมรักษาการ 7 มิถุนายน ค.ศ. 2022 บราซิล เซ ริการ์โด[23] 7 มิถุนายน ค.ศ. 2022
วิสเซล โคเบะ สเปน มิเกล อันเฆล โลตินา[24] ถูกไล่ออก 29 มิถุนายน ค.ศ. 2022 อันดับที่ 18 ญี่ปุ่น ทากะยูกิ โยชิดะ[25] 29 มิถุนายน ค.ศ. 2022
คาชิมะ แอนต์เลอส์ สวิตเซอร์แลนด์ เรอเน เวอิเลอร์[26][27] ได้รับความยินยอมร่วมกัน 7 สิงหาคม ค.ศ. 2022 อันดับที่ 4 ญี่ปุ่น ดาอิกิ อิวามาซะ[28] 8 สิงหาคม ค.ศ. 2022
กัมบะ โอซากะ ญี่ปุ่น โทโมะฮิโระ คาตะโนซะกะ[29] ถูกไล่ออก 17 สิงหาคม ค.ศ. 2022 อันดับที่ 17 ญี่ปุ่น ฮิโรชิ มัตซึดะ[29] 17 สิงหาคม ค.ศ. 2022
จูบิโล อิวาตะ ญี่ปุ่น อากิระ อิโตะ[30] ถูกไล่ออก อันดับที่ 18 ญี่ปุ่น ฮิโรกิ ชิบูยะ[31]

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สโมสรสามารถทำสัญญากับผู้เล่นต่างชาติได้ไม่จำกัดจำนวน แต่สามารถส่งรายชื่อผู้เล่นต่างชาติได้ห้าคนเท่านั้นต่อการแข่งขันหนึ่งนัด[32] ผู้เล่นจากชาติที่มีข้อตกลงความร่วมมือกับเจลีกได้แก่ไทย เวียดนาม พม่า มาเลเซีย กัมพูชา สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และกาตาร์ได้รับยกเว้น

  • ชื่อผู้เล่นที่เป็นตัวหนา หมายถึงผู้เล่นที่ย้ายเข้ามากลางฤดูกาล
  • ชื่อผู้เล่นที่เป็นตัวเอน หมายถึงผู้เล่นที่ถือสัญชาติญี่ปุ่นเพิ่มเติมจากสัญชาติฟีฟ่า หรือได้รับยกเว้นไม่ถือว่าเป็นผู้เล่นต่างชาติเนื่องจากเกิดในประเทศญี่ปุ่นและเข้าเรียนหรือจบการศึกษาจากโรงเรียนที่รับรองในประเทศ[33]
สโมสร ผู้เล่น 1 ผู้เล่น 2 ผู้เล่น 3 ผู้เล่น 4 ผู้เล่น 5 ผู้เล่น 6 ผู้เล่น 7 ผู้เล่น 8 ผู้เล่นย้ายออก
เกียวโต ซังงะ   ปีเตอร์ อูตากา   โอริกบาโจ อิสไมลา
คาชิมะ แอนต์เลอส์   Arthur Caíke   Bueno   Diego Pituca   Everaldo   Juan Alano   คว็อน ซุน-แท
คาชิวะ เรย์โซล   Cristiano   Dodi   Émerson Santos   Matheus Sávio   Rodrigo Angelotti   คิม ซึง-กยู   อิปเป ชิโนซูกะ
คาวาซากิ ฟรอนตาเล   Jesiel   João Schmidt   Leandro Damião   Marcinho   ชุง ซุง-รยง   ชนาธิป สรงกระสินธ์
ชิมิซุ เอส-พัลส์   Carlinhos Júnior   Elsinho   Thiago Santana   Renato Augusto   Ronaldo   Valdo   Benjamin Kololli   เอริก โนริเองะ
โชนัน เบลมาเร   Wellington   Welinton Júnior   Tarik Elyounoussi
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส   Marcos Júnior   Thiago Martins   Élber   Léo Ceará
อูราวะ เรดไดมอนส์   Alexander Scholz   Kasper Junker
เอ็ฟซี โตเกียว   Adaílton   Bruno Uvini   Diego Oliveira   Leandro   ยากุบ สวอฟวิก
ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ   ดักลาส โอลิเวียรา   ลูคัส เฟอร์นานเดช   กาเบรียล ซาเวียร์   มีลาน ตูชิช   สุภโชค สารชาติ
นาโงยะ แกรมปัส   Léo Silva   Mateus   ยากุบ ชวีแยร์ตซอก   มิตเชลล์ แลงเกอรัก   คิม มิน-แท
กัมบะ โอซากะ   Leandro Pereira   Patric   Wellington Silva   ชู เซ-จง   ชิน ว็อน-โฮ
เซเรซโซ โอซากะ   Bruno Mendes   Jean Patric โครเอเชีย Matej Jonjić   อดัม แทกการ์ต   คิม จิน-ฮย็อน   ดั่ง วัน เลิม ไทย เชาว์วัฒน์ วีระชาติ
วิสเซล โคเบะ   Douglas   Lincoln   อันเดรส อินิเอสตา   โบยัน กีร์กิช   เซร์กิ ซัมเปร์
ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ   Douglas Vieira   Ezequiel   Júnior Santos   Rhayner
ซางัน โทซุ   Eduardo   อิสมาเอล ดุงกา   ชิเกลูบา โอโฟเอดู   รยัง ยง-กี   ฮวัง ซ็อก-โฮ   พัก อิล-กยู   Ueom Ye-hoon
อวิสปา ฟูกูโอกะ   Lukian   Douglas Grolli   การ์โลส กูติเอร์เรซ   ฆวนมา   Jordy Croux
จูบิโล อิวาตะ   ฟาบิอัน กอนซาเลซ   Alexei Koșelev

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส (C) 34 20 8 6 70 35 +35 68 ผ่านเข้าสู่ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
2 คาวาซากิ ฟรอนตาเล 34 20 6 8 65 42 +23 66
3 ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ 34 15 10 9 52 41 +11 55 ผ่านเข้าสู่ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบเพลย์ออฟ
4 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 34 13 13 8 47 42 +5 52
5 เซเรซโซ โอซากะ 34 13 12 9 46 40 +6 51
6 เอ็ฟซี โตเกียว 34 14 7 13 46 43 +3 49
7 คาชิวะ เรย์โซล 34 13 8 13 43 44 −1 47
8 นาโงยะ แกรมปัส 34 11 13 10 30 35 −5 46
9 อูราวะ เรดไดมอนส์ 34 10 15 9 48 39 +9 45
10 ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ 34 11 12 11 45 55 −10 45
11 ซางัน โทซุ 34 9 15 10 45 44 +1 42
12 โชนัน เบลมาเร 34 10 11 13 31 39 −8 41
13 วิสเซล โคเบะ 34 11 7 16 35 41 −6 40
14 อวิสปา ฟูกูโอกะ 34 9 11 14 29 38 −9 38
15 กัมบะ โอซากะ 34 9 10 15 33 44 −11 37
16 เกียวโต ซังงะ 34 8 12 14 30 38 −8 36 ผ่านเข้าสู่ เพลย์ออฟ ตกชั้น
17 ชิมิซุ เอส-พัลส์ (R) 34 7 12 15 44 54 −10 33 ตกชั้นสู่ เจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2023
18 จูบิโล อิวาตะ (R) 34 6 12 16 32 57 −25 30
แหล่งข้อมูล: Meiji Yasuda J1 League, J.League Data Site
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้; 4) คะแนน เฮด-ทู-เฮด; 5) ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด; 6) ประตูที่ทำได้ เฮด-ทู-เฮด; 7) คะแนนทางวินัยน้อยกว่า.
(C) ชนะเลิศ; (R) ตกชั้น

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า / เยือน ANT AVI BEL CER CON FMA FRO GAM GRA JBI KSA RED REY SAG SFR SSP TOK VIS
คาชิมะ แอนต์เลอส์ 2–0 2–1 3–3 4–1 0–3 0–2 0–0 0–0 3–1 1–0 2–2 1–0 4–4 0–2 2–1 0–1 1–1
อวิสปา ฟูกูโอกะ 0–1 0–0 0–0 0–0 1–0 1–4 0–1 2–3 1–1 1–0 0–0 2–1 0–0 1–3 3–2 5–1 0–1
โชนัน เบลมาเร 1–1 0–0 0–2 1–5 1–4 2–1 1–0 0–0 0–0 1–1 0–0 0–2 3–0 0–1 1–4 2–0 2–1
เซเรซโซ โอซากะ 0–3 2–0 1–1 2–2 2–2 2–1 3–1 0–1 2–1 1–1 2–0 0–1 2–1 0–3 1–1 0–1 3–0
ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ 0–0 1–2 1–0 2–1 1–1 4–3 1–0 2–2 4–0 1–0 1–1 1–6 1–2 1–1 4–3 0–0 0–2
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 2–0 1–0 3–0 2–2 0–0 4–2 0–2 2–1 0–1 2–0 4–1 4–0 0–0 3–0 2–0 2–1 2–0
คาวาซากิ ฟรอนตาเล 2–1 2–0 0–4 1–4 5–2 2–1 4–0 1–0 1–1 3–1 2–1 1–0 4–0 4–0 3–2 1–0 2–1
กัมบะ โอซากะ 1–3 2–3 0–1 1–2 0–0 1–2 2–2 3–1 2–0 1–1 1–1 0–0 0–3 2–0 0–2 0–0 2–0
นาโงยะ แกรมปัส 1–1 1–0 2–1 1–0 0–2 0–4 1–1 0–2 1–0 1–1 3–0 1–1 1–1 0–0 0–2 2–1 2–0
จูบิโล อิวาตะ 3–3 0–1 1–0 2–2 1–2 0–2 1–1 1–1 2–1 0–0 0–6 2–2 3–1 2–2 1–2 2–1 0–1
เกียวโต ซังงะ 1–1 0–1 0–1 0–0 2–1 1–2 1–0 1–1 1–1 1–4 1–0 1–2 3–1 1–1 0–0 0–1 2–0
อูราวะ เรดไดมอนส์ 1–1 1–1 2–0 0–1 1–1 3–3 3–1 0–1 3–0 4–1 2–2 4–1 2–1 0–0 1–1 3–0 2–2
คาชิวะ เรย์โซล 1–2 1–0 1–2 0–0 1–0 3–1 1–1 0–1 0–1 2–0 0–2 0–0 1–4 2–3 3–1 3–6 3–1
ซางัน โทซุ 1–1 1–1 1–1 1–1 5–0 2–2 0–0 2–1 0–0 2–0 0–1 1–0 0–1 2–2 0–0 5–0 0–2
ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ 3–0 1–0 1–1 2–1 1–2 2–0 0–2 5–2 1–0 3–0 3–1 4–1 1–2 0–0 2–0 1–2 1–1
ชิมิซุ เอส-พัลส์ 0–1 3–1 1–1 1–3 1–1 3–5 0–2 1–1 1–2 1–1 1–0 1–2 1–1 3–3 2–2 0–3 0–0
เอ็ฟซี โตเกียว 3–1 2–2 0–2 4–0 3–0 2–2 2–3 2–0 0–0 2–0 2–0 0–0 0–0 0–1 2–1 0–2 3–1
วิสเซล โคเบะ 0–2 0–0 1–0 0–1 4–1 1–3 0–1 2–1 0–0 0–0 1–3 0–1 0–1 4–0 4–0 2–1 2–1
ที่มา: J1 League
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติประจำฤดูกาล

[แก้]

การทำประตู

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู[34][35]
1 บราซิล ตีอากู ซันตานา ชิมิซุ เอส-พัลส์ 14
2 ญี่ปุ่น ชูโตะ มาชิโนะ โชนัน เบลล์มาเร 13
3 บราซิล อาดาอิลตง เอ็ฟซี โตเกียว 12
ญี่ปุ่น อากิฮิโระ อิเอนากะ คาวาซากิ ฟรอนตาเล
บราซิล มาร์ซินญู คาวาซากิ ฟรอนตาเล
6 บราซิล เลอู เซอารา โยโกะฮามะ เอฟ มารินอส 11
บราซิล อังเดร์ซง ลูปึส โยโกะฮามะ เอ็ฟ. มารินอส
8 ญี่ปุ่น ทากูมะ นิชิมุระ โยโกะฮามะ เอ็ฟ. มารินอส 10
ญี่ปุ่น อายาเซะ อูเอดะ คาชิมะ แอนต์เลอส์
ญี่ปุ่น ยูยะ ยะมะกิชิ อาวิสปา ฟูกูโอกะ
10 บราซิล อาร์ตูร์ คาอิเก คาชิมา แอนท์เลอส์ 9
ญี่ปุ่น มาโกโตะ มิตซูตะ ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ
ไนจีเรีย ปีเตอร์ อูตากา เกียวโตะ ซังงะ

แฮท-ทริคส์

[แก้]
ผู้เล่น ให้กับ ในนัดที่พบกับ ผล วันที่
เดนมาร์ก ยันเคอร์, แคสเปอร์แคสเปอร์ ยันเคอร์ อูราวะ เรด ไดมอนส์ โยโกะฮามะ เอ็ฟ. มารินอส 3–3 (H)[36][37] 18 พฤษภาคม ค.ศ. 2022
บราซิล เลอู เซอารา โยโกะฮามะ เอ็ฟ. มารินอส ชิมิซุ เอส-พัลส์ 5–3 (A)[38][39] 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2022
บราซิล มาร์ซินญู คาวาซากิ ฟรอนตาเล อาวิสปา ฟูกูโอกะ 4–1 (A)[40][41] 20 สิงหาคม ค.ศ. 2022
ญี่ปุ่น เรียวมะ วาตะนาเบะ เอ็ฟซี โตเกียว เซเรซโซ โอซากะ 4–0 (H)[42][43] 12 ตุลาคม ค.ศ. 2022

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "2022 J1リーグ入場者数" [2022 J1 League attendance]. J-League.or.jp (ภาษาญี่ปุ่น). Japan Professional Football League. สืบค้นเมื่อ 5 November 2022.
  2. "Football: Kawasaki retain Japanese title despite late Urawa equaliser". The Straits Times. 3 November 2021.
  3. Orlowitz, Dan (19 March 2020). "J. League to skip relegation as schedule threatened by coronavirus". The Japan Times.
  4. "Number of clubs promoted and relegated at the end of the 2021 season" (Press release). Japan Professional Football League. 18 November 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-16. สืบค้นเมื่อ 18 November 2020.
  5. "城福 浩 監督 退任のお知らせ" [Notice of Hiroshi Jofuku's retirement] (ภาษาญี่ปุ่น). Sanfrecce Hiroshima. 26 October 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  6. "ミヒャエル・スキッべ 監督 就任のお知らせ" [Announcement of Michael Skibbe's inauguration] (ภาษาญี่ปุ่น). Sanfrecce Hiroshima. 26 October 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  7. "G大阪13位に終わる 試合後に松波監督涙のざんげ「本当に申し訳なく」" [Gamba Osaka finishes in 13th place After the match, coach Matsunami's tears are "I'm really sorry"]. NikkanSports.com (ภาษาญี่ปุ่น). 5 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  8. "G大阪新監督に片野坂知宏氏 天皇杯準Vの大分前監督、7年ぶり古巣復帰" [Tomohiro Katanosaka as new director of Gamba Osaka, former director of Emperor's Cup quasi-V, returns to old nest for the first time in 7 years]. NikkanSports.com (ภาษาญี่ปุ่น). 23 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  9. "相馬監督 退任のお知らせ" [Notice of Soma's retirement] (ภาษาญี่ปุ่น). FC Tokyo. 5 December 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-20. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  10. "レネ ヴァイラー氏の新監督就任について" [René Weiler's new director appointment] (ภาษาญี่ปุ่น). Kashima Antlers. 10 December 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-22. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  11. "森下申一監督 退任のお知らせ" [Notice of Shinichi Morishita's retirement] (ภาษาญี่ปุ่น). FC Tokyo. 5 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  12. "アルベル プッチ オルトネダ氏来季監督就任のお知らせ" [Albert Puig Ortoneda Announcement of Next Season Director] (ภาษาญี่ปุ่น). FC Tokyo. 10 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  13. "マッシモ フィッカデンティ監督 契約満了のお知らせ" [Massimo Ficcadenti Head Coach Notice of Expiration of Contract] (ภาษาญี่ปุ่น). Nagoya Grampus. 9 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  14. "長谷川健太氏 トップチーム監督就任決定のお知らせ" [Kenta Hasegawa Announcement of Appointment of Top Team Head Coach] (ภาษาญี่ปุ่น). Nagoya Grampus. 9 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  15. "金明輝 監督 退任のお知らせ" [Notice of Kim Myung-hwi's retirement] (ภาษาญี่ปุ่น). Sagan Tosu. 20 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  16. "川井健太氏 監督就任のお知らせ" [Announcement of Kenta Kawai's appointment as director] (ภาษาญี่ปุ่น). Sagan Tosu. 24 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  17. "鈴木 政一監督 退任のお知らせ" [Notice of Masakazu Suzuki's retirement] (ภาษาญี่ปุ่น). Júbilo Iwata. 25 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  18. "伊藤 彰監督 就任のお知らせ" [Notice of Akira Ito inauguration] (ภาษาญี่ปุ่น). Júbilo Iwata. 25 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  19. "三浦淳寛監督 契約解除のお知らせ" [Director Atsuhiro Miura Notice of contract cancellation] (ภาษาญี่ปุ่น). Vissel Kobe. 20 March 2022. สืบค้นเมื่อ 5 April 2022.
  20. "ヴィッセル神戸トップチーム 体制変更のお知らせ" [Notice of change of VISSEL KOBE top team system] (ภาษาญี่ปุ่น). Vissel Kobe. 21 March 2022. สืบค้นเมื่อ 5 April 2022.
  21. "ミゲル アンヘル ロティーナ氏監督就任およびトップチーム新体制のお知らせ" [Announcement of Miguel Ángel Lotina's appointment as director and new top team structure] (ภาษาญี่ปุ่น). Vissel Kobe. 8 April 2022. สืบค้นเมื่อ 16 April 2022.
  22. 22.0 22.1 "平岡 宏章監督 契約解除のお知らせ" [Director Hiroaki Hiraoka Notice of contract cancellation] (ภาษาญี่ปุ่น). Shimizu S-Pulse. 30 May 2022. สืบค้นเมื่อ 30 May 2022.
  23. "ゼ リカルド監督就任のお知らせ" [Announcement of the appointment of the new director Zé Ricardo] (ภาษาญี่ปุ่น). Shimizu S-Pulse. 7 June 2022. สืบค้นเมื่อ 7 June 2022.
  24. "ミゲル アンヘル ロティーナ監督契約解除のお知らせ" [Notice of cancellation of Miguel Angel Lotina's contract] (ภาษาญี่ปุ่น). Vissel Kobe. 29 June 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.
  25. "ヴィッセル神戸トップチーム体制変更のお知らせ" [Announcement of changes in VISSEL's top team structure] (ภาษาญี่ปุ่น). Vissel Kobe. 29 June 2022. สืบค้นเมื่อ 29 June 2022.
  26. "レネ ヴァイラー監督の退任について" [On Rene Weiler's contract termination] (ภาษาญี่ปุ่น). Kashima Antlers. 7 August 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-15. สืบค้นเมื่อ 7 August 2022.
  27. "レネ ヴァイラー監督との契約を解除 [鹿島]" [Termination of contract with Rene Weiler [Kashima]]. JLeague.jp (ภาษาญี่ปุ่น). Japan Professional Football League. 7 August 2022. สืบค้นเมื่อ 8 August 2022.
  28. "岩政コーチの新監督就任について" [Regarding Iwamasa's appointment as the club's new manager] (ภาษาญี่ปุ่น). Kashima Antlers. 8 August 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-22. สืบค้นเมื่อ 9 August 2022.
  29. 29.0 29.1 "トップチーム監督交代のお知らせ" [Announcement of top team manager change] (ภาษาญี่ปุ่น). Gamba Osaka. 17 August 2022. สืบค้นเมื่อ 19 August 2022.
  30. "ジュビロ磐田を応援してくださる皆様へ" [To everyone who supports Júbilo Iwata] (ภาษาญี่ปุ่น). Júbilo Iwata. 17 August 2022. สืบค้นเมื่อ 14 September 2022.
  31. "渋谷 洋樹監督 就任のお知らせ" [Announcement of director Hiroki Shibuya] (ภาษาญี่ปุ่น). Júbilo Iwata. 17 August 2022. สืบค้นเมื่อ 14 September 2022.
  32. "「ホームグロウン制度」の導入と「外国籍選手枠」の変更について". JLeague.jp (ภาษาญี่ปุ่น). Japan Professional Football League. 20 November 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-12. สืบค้นเมื่อ 2021-12-22.
  33. "プロサッカー選手の契約、登録および移籍に関する規則" (PDF). jfa.jp (ภาษาญี่ปุ่น). Japan Football Association.
  34. "All Positions | Goals | All clubs | MEIJI YASUDA J1 LEAGUE | 2022 Player Stats | J.LEAGUE". JLeague.co. Japan Professional Football League. สืบค้นเมื่อ 22 October 2022.
  35. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ SW
  36. "Urawa Reds vs. Yokohama F. Marinos - 18 May 2022 - Soccerway". Soccerway. 18 May 2022. สืบค้นเมื่อ 19 May 2022.
  37. "Urawa Reds v Yokohama F. Marinos | Matchweek 11, MEIJI YASUDA J1 LEAGUE 2022 | J.LEAGUE". JLeague.co. Japan Professional Football League. 18 May 2022. สืบค้นเมื่อ 19 May 2022.
  38. "Shimizu S-Pulse vs. Yokohama F. Marinos - 2 July 2022 - Soccerway". Soccerway. 2 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.
  39. "Shimizu S-Pulse v Yokohama F. Marinos | Matchweek 19, MEIJI YASUDA J1 LEAGUE 2022 | J.LEAGUE". JLeague.co. Japan Professional Football League. 2 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.
  40. "Shimizu S-Pulse vs. Yokohama F. Marinos - 20 August 2022 - Soccerway". Soccerway. 20 August 2022. สืบค้นเมื่อ 20 August 2022.
  41. "Avispa Fukuoka vs Kawasaki Frontale | Matchweek 26, MEIJI YASUDA J1 LEAGUE 2022 | J.LEAGUE". JLeague.co. Japan Professional Football League. 20 August 2022. สืบค้นเมื่อ 20 August 2022.
  42. "Tokyo vs. Cerezo Osaka - 12 October 2022 - Soccerway". Soccerway. 12 October 2022. สืบค้นเมื่อ 12 October 2022.
  43. "F.C.Tokyo vs Cerezo Osaka | Matchweek 25, MEIJI YASUDA J1 LEAGUE 2022 | J.LEAGUE". JLeague.co. Japan Professional Football League. 12 October 2022. สืบค้นเมื่อ 12 October 2022.