ข้ามไปเนื้อหา

อาทิตยะ-แอล1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาทิตยะ-แอล 1
อาทิตยะ-L1 ในรูปพร้อมปล่อย
ประเภทภารกิจสำรวจดวงอาทิตย์
ผู้ดำเนินการISRO
COSPAR ID2023-132A
SATCAT no.57754แก้ไขบนวิกิสนเทศ
เว็บไซต์www.isro.gov.in/Aditya_L1.html
ระยะภารกิจ5.2 ปี (ตามแผน)[1]
1 ปี 2 เดือน 8 วัน (elapsed)
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศPSLV-XL/C-57
ชนิดยานอวกาศPSLV
ผู้ผลิตISRO / IUCAA / IIA
มวลขณะส่งยาน1,475 kg (3,252 lb)[2]
มวลบรรทุก244 kg (538 lb)[1]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น2 September 2023 (2023-09-02), 11:50 IST (06:20 UTC) [3][4]
จรวดนำส่งPSLV-XL
ฐานส่งศูนย์อวกาศสตีษ ธวัน
ผู้ดำเนินงานISRO
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงSun–Earth L1
ระบบวงโคจรวงโคตรฮาโล
คาบการโคจร177.86 วัน[5]
วันที่ใช้อ้างอิงมกราคม 2024 (ตามแผน)
 

อาทิตยะ-แอล1 (อักษรโรมัน: Aditya-L1) เป็นยานอวกาศโคโรนากราฟีเพื่อการศึกษาค้นคว้าชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ออกแบบและพัฒนาโดยองค์การค้นคว้าอวกาศอินเดีย (ISRO) และองค์การวิจัยอื่น ๆ ของอินเดียอีกหลายสถาบัน[1] ยานอวกาศจะเดินทางเข้าสู่วงโคจรฮาโล ที่ราว 1.5 ล้านกิโลเมตรจากโลก แถว ๆ จุดลากร็องฌ์ L1 ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ที่ซึ่งยานจะทำการศึกษาชั้นบรรยากาศดวงอาทิตย์, พายุสุริยะ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณของโลก[6]

ภารกิจอวกาศนี้ถือเป็นภารกิจศึกษาดวงอาทิตย์ครั้งแรกของอินเดีย โดยมีผู้กำกับโครงการคือนิคร ชาจี[7][8][9][10] ยานอวกาศถูกปล่อยโดยมียานนำส่งคือ PSLV-XL[1] ที่เวลา 11:50 IST ของวันที่ 2 กันยายน 2023[11][3][4] เพียงสิบวันนับจากการลงจอดบนดวงจันทร์ของ จันทรยาน 3 ยานเข้าสู่วงโคจรตามที่วางแผนไว้ในราวหนึ่งชั่วโมงให้หลัง และแยกตัวออกจากระยะที่สี่ ที่เวลา 12:57 IST[12]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Somasundaram, Seetha; Megala, S. (25 August 2017). "Aditya-L1 mission" (PDF). Current Science. 113 (4): 610. Bibcode:2017CSci..113..610S. doi:10.18520/cs/v113/i04/610-612. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 August 2017. สืบค้นเมื่อ 25 August 2017.
  2. International Space Conference and Exhibition – DAY 3 (video). Confederation of Indian Industry. 15 September 2021. เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ 2:07:36–2:08:38. สืบค้นเมื่อ 18 September 2021 – โดยทาง YouTube.
  3. 3.0 3.1 "Moon mission done, ISRO aims for the Sun with Aditya-L1 launch on September 2". The Indian Express. 28 August 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2023. สืบค้นเมื่อ 28 August 2023.
  4. 4.0 4.1 Pandey, Geeta (2 September 2023). "Aditya-L1: India launches its first mission to Sun". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2 September 2023.
  5. Sreekumar, P. (19 June 2019). "Indian Space Science & Exploration : Global Perspective" (PDF). UNOOSA. p. 8. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 June 2019. สืบค้นเมื่อ 30 June 2019.
  6. "Aditya – L1 First Indian mission to study the Sun". ISRO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2018. สืบค้นเมื่อ 1 June 2017.
  7. "Meet The Project Director Of Ambitious Mission Aditya-L1| Nigar Shaji from Tamil Nadu". TimesNow (ภาษาอังกฤษ). 2023-09-02. สืบค้นเมื่อ 2023-09-02.
  8. "ISROs Aditya-L1 Solar Mission: Nigar Shaji Addresses After Successful Launch Of First Sun Mission". Zee News (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-09-02.
  9. "Meet Nigar Shaji from TN's Tenkasi, Aditya-L1 mission project director". The New Indian Express. สืบค้นเมื่อ 2023-09-02.
  10. "Meet Nigar Shaji, The Project Director Of India's First Sun Mission: 5 Points". NDTV.com. สืบค้นเมื่อ 2023-09-02.
  11. ISRO [@isro] (September 1, 2023). "PSLV-C57/Aditya-L1 Mission: The 23-hour 40-minute countdown leading to the launch at 11:50 Hrs. IST on September 2, 2023, has commended today at 12:10 Hrs. The launch can be watched LIVE on ISRO Website https://isro.gov.in Facebook https://facebook.com/ISRO YouTube https://youtube.com/watch?v=_IcgGYZTXQw… DD National TV channel from 11:20 Hrs. IST" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  12. "Aditya L1 Mission: Aditya L1 Launch LIVE Updates: Aditya L1 spacecraft successfully separated from PSLV rocket, now en route to Sun-Earth L1 point. ISRO says mission accomplished". The Economic Times (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-09-02.