ข้ามไปเนื้อหา

สเปซชาแนลไฟว์: พาร์ททู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สเปซชาแนลไฟว์: พาร์ททู
ปกเกมเวอร์ชันดรีมแคสต์ที่วางจำหน่ายในญี่ปุ่น
ผู้พัฒนาUnited Game Artists
ผู้จัดจำหน่าย
กำกับYumiko Miyabe
อำนวยการผลิตTetsuya Mizuguchi
ออกแบบTakumi Yoshinaga
โปรแกรมเมอร์Hitoshi Nakanishi
ศิลปินMayumi Moro
เขียนบทTakumi Yoshinaga
แต่งเพลงNaofumi Hataya
Kenichi Tokoi
Tomoya Ohtani
Mariko Namba
เครื่องเล่นดรีมแคสต์, เพลย์สเตชัน 2, เพลย์สเตชัน 3, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, เอกซ์บอกซ์ 360
วางจำหน่าย
14 กุมภาพันธ์ 2002
  • ดรีมแคสต์
    • JP: 14 กุมภาพันธ์ 2002
    เพลย์สเตชัน 2
    • JP: 14 กุมภาพันธ์ 2002
    • EU: 12 กุมภาพันธ์ 2003
    • NA: 18 พฤศจิกายน 2003
    ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
    • ทั่วโลก: 22 กุมภาพันธ์ 2011
    เพลย์สเตชัน 3
    • NA: 4 ตุลาคม 2011
    • EU: 5 ตุลาคม 2011
    • JP: 5 ตุลาคม 2011
    เอกซ์บอกซ์ 360
    • ทั่วโลก: 5 ตุลาคม 2011
แนวดนตรี
รูปแบบผู้เล่นคนเดียว
หลายผู้เล่น

สเปซชาแนลไฟว์: พาร์ททู (ญี่ปุ่น: スペースチャンネル5 パート2โรมาจิSupēsu Channeru Faibu Pāto Tsū อังกฤษ: Space Channel 5: Part 2) เป็นวิดีโอเกมแนวดนตรี พัฒนาโดย United Game Artists โดยเป็นภาคต่อโดยตรงของเกม สเปซชาแนลไฟว์ ในปี 1999 ตัวเกมวางจำหน่ายโดยเซกาในญี่ปุ่นในเดือนกุมภาพันธ์ 2002 สำหรับดรีมแคสต์และเพลย์สเตชัน 2 ตัวเกมเวอร์ชันเพลย์สเตชัน 2 วางจำหน่ายทั่วโลกในปี 2003 โดยโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ยุโรป (ยุโรปแผ่นดินใหญ่) และ Agetec (อเมริกาเหนือ) ตัวเกมได้ถูกพอร์ตแบบความละเอียดสูงโดยเซกาและวางจำหน่ายสำหรับเพลย์สเตชัน 3, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ เอกซ์บอกซ์ 360 ในปี 2011

สเปซชาแนลไฟว์: พาร์ททู ถูกพัฒนาขึ้นในระยะเวลาสองปีโดยพนักงานคนเดียวกันหลายคน ตัวเกมเป็นเกมสุดท้ายของทีมงาน United Game Artists ก่อนที่จะถูกรวมเข้ากับโซนิคทีม[5] และเป็นเกมสุดท้ายที่ผลิตโดย Tetsuya Mizuguchi ก่อนที่เขาจะลาออกจากเซกาในปี 2003[6] การเปลี่ยนไปใช้กราฟิก 3 มิติจากวิดีโอที่แสดงผลล่วงหน้าของแกมภาคแรก Mizuguchi ได้รวมคุณสมบัติหลายอย่างตามความต้องการของทีมงานและข้อเสนอแนะจากเกมภาคแรก ดนตรีประกอบถูกแต่งขึ้นในช่วงหนึ่งปี และสร้างอัลบั้มเพลงประกอบถึงสี่อัลบั้ม สเปซชาแนลไฟว์: พาร์ททู ประสบความสำเร็จทั้งในเชิงพาณิชย์และคำวิจารณ์ โดยนักวิจารณ์หลายคนกล่าวว่าภาคนี้เหนือกว่าภาคต้นฉบับเนื่องจากมีกลไกและเพลงประกอบที่ขัดเกลา

หมายเหตุ

[แก้]
  1. นอกจากนี้ยังเป็นผู้จัดจำหน่ายเวอร์ชันรีมาสเตอร์ด้วย[3]
  2. สเปเชียลอิดีชัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Sony Acquires Euro Publishing Rights to Sega games". IGN. 2001-06-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-02-07. สืบค้นเมื่อ 2019-10-12.
  2. セガ、「スペースチャンネル5 Part2」動画を公開. Game Watch Impress (ภาษาญี่ปุ่น). 2002-01-14. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-28. สืบค้นเมื่อ 2019-10-12.
  3. "Dreamcast Collection Announcement". Sega. 2011-02-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-02. สืบค้นเมื่อ 2019-09-30.
  4. "Agetec Is Set To Release Space Chanenl 5 Special Edition". Agetec. 2005-08-05. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2003-12-06. สืบค้นเมื่อ 2019-09-28.
  5. Smith, Sean (2006). "Company Profile: Sonic Team". Retro Gamer. No. 26. Imagine Publishing. pp. 24–29.
  6. "Tetsuya Mizuguchi Interview 2005". Video Games Daily. Superglobal, Ltd. 2005-10-13. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-17. สืบค้นเมื่อ 2019-10-12.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]