ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อนกที่พบในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไก่ฟ้าพญาลอ
นกประจำชาติของประเทศไทย

มีนกทั้งสิ้น 17 ชนิดที่มีบันทึกว่าพบในธรรมชาติของประเทศไทยใน 2562 มี 2 ชนิดเป็นนกถิ่นเดียว ห้าชนิดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่นำเข้ามาโดยมนุษย์ และนก 100 ชนิดกว่าพบเห็นได้ยากเป็นหรือพลัดหลง 8 ชนิดในรายชื่อทั้งหมดสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทยและ 72 ชนิดที่ถูกคุกคามทั่วโลก[1] เรียงลำดับวงศ์และชนิดตาม เคลเมนต์ (2019) [2]

ในปี พ.ศ. 2543 มีการประมาณว่านกประจำถิ่น 159 ชนิดและนกอพยพ 23 ชนิดกำลังถูกคุกคามจนใกล้สูญพันธุ์หรือเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ซึ่งมีสาเหตุมาจากการถางป่า การลักลอบตัดไม้อย่างผิดกฎหมาย การล่าสัตว์และการเสื่อมสภาพถิ่นที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะในที่ราบลุ่ม ชนิดที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดเป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำซึ่งส่วนใหญ่ได้กลายไปเป็นพื้นที่ทางการเกษตรและชนิดที่อาศัยอยู่ในป่าที่ซึ่งมีการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อการเกษตรและการค้าทำให้พื้นที่ป่าสูญหายไปหรือกลายเป็นป่าเสื่อมโทรม[3]

นกในประเทศไทยเป็นนกชนิดหลักๆของเขตนิเวศอินโดมาลายาซึ่งสัมพันธ์กับอนุทวีปอินเดียในทางตะวันตก และโดยเฉพาะพื้นที่คาบสุมทรทางตอนใต้ถึงเขตชีวภาพซุนดาในทางตะวันออกเฉียงใต้ ภูเขาทางเหนือคือที่ราบสูงทิเบตที่ทอดตัวขวางไว้ซึ่งมีนกภูเขาหลายชนิดและในฤดูหนาวจะมีนกอพยพมาจากทางตะวันออกของเขตนิเวศพาลีอาร์กติกและเทือกเขาหิมาลัย

ประเทศไทยมีชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ทำให้มีนกถิ่นเดียวเพียงไม่กี่ชนิด บางทีนกที่สวยงามอย่างนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรซึ่งพบเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว อาจสูญพันธุ์ไปแล้วก็ได้[4] [5]

บางชนิดไม่มีชื่อสามัญในภาษาไทย สำหรับเสปีชีส์หล่านี้คอลัมน์ "ชื่อ" นั้นเว้นว่างไว้


สารบัญ

นกไม่เกาะคอน
เป็ดและห่าน . ไก่ฟ้า นกกระทา และนกคุ่ม . นกฟลามิงโก . นกเป็ดผี . นกพิราบและนกเขา . นกคัคคู . นกปากกบ . นกตบยุง . นกแอ่น . นกแอ่นฟ้า . นกอัญชัน . นกฟินฟุต . นกกระเรียน . นกกระแตผี . นกตีนเทียน . นกกินหอยนางรม . นกหัวโตและนกกระแต . นกโป่งวิด . นกอีแจว . นกชายเลนและนกปากซ่อม . นกคุ่มอืด . นกหัวโตกินปู . นกแอ่นทุ่ง . นกสกัว . นกนางนวลและนกนางนวลแกลบและนกกรีดน้ำ . นกร่อนทะเล . นกอัลบาทรอส . นกโต้คลื่น . นกจมูกหลอด . นกกระสาและนกตะกรุม . นกโจรสลัด . นกบูบบี . นกอ้ายงั่ว . นกกาน้ำ . นกกระทุง . นกยาง . นกกุลาและนกปากช้อน . เหยี่ยวออสเปร . เหยี่ยวและนกอินทรี . นกแสก . นกเค้า . นกขุนแผน . นกกะรางหัวขวาน . นกเงือก . นกกะเต็น . นกจาบคา . นกตะขาบ . นกโพระดก . นกพรานผึ้ง . นกคอพันและนกหัวขวาน . เหยี่ยวปีกแหลม . นกแก้วและนกหก .

นกจับคอน
นกพญาปากกว้างเขียว . นกพญาปากกว้าง . นกแต้วแร้ว . นกกระจ้อยป่าโกงกาง . นกขี้เถ้าและนกพญาไฟ . นกเสือแมลง . นกหัวโตป่าโกงกาง . นกขมิ้น . นกแอ่นพง . นกเฉี่ยวดง . นกขมิ้นน้อย . นกอีแพรด . นกแซงแซว . นกแซวสวรรค์ . นกกาน้อยหงอนยาว . นกอีเสือ . นกกา . นกคอสามสี . นกจับแมลง . นกติต . นกจาบฝน . นกยอดข้าวและนกกระจิบหญ้า . นกพง . นกกระจ้อยอาศัยในหญ้า . นกจู๋เต้นจิ๋ว . นกนางแอ่น . นกปรอด . นกกระจิ๊ด . นกกระจ้อยอาศัยในพุ่มไม้ . นกติตหางยาว . นกคอขาวน้อยและนกปากนกแก้ว . นกแว่นตาขาว . นกกินแมลงอาศัยในต้นไม้ . นกกินแมลงอาศัยบนพื้นดิน . นกจุนจู๋ท้อง . นกไต่ผา . นกไต่ไม้ . นกเปลือกไม้ . นกจู๋เต้นลายจุด . นกมุดน้ำ . นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง . นกเดินดง . นกจับแมลงและนกเขน . นกกาฝาก . นกกินปลีและนกปลีกล้วย . นกเขียวคราม . นกเขียวก้านตอง . นกจาบ . นกกระติ๊ด . นกกระจอก . นกเด้าลมและนกเด้าดิน . นกจาบปีกอ่อน . นกจาบปีกอ่อนเล็ก .

อ้างอิง     แหล่งข้อมูลอื่น

เป็ดและห่าน

[แก้]
อันดับ: Anseriformes วงศ์: Anatidae

นกในวงศ์นี้ประกอบไปด้วยเป็ด ห่าน และ หงส์ มีพังผืดที่เท้า ปากแบน ขนเคลือบด้วยไขมันกันน้ำได้ดี มี 131 ชนิดทั่วโลก พบ 25 ชนิดในประเทศไทย[6]

เป็ดคับแคเพศผู้
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
เป็ดแดง Dendrocygna javanica
ห่านหัวลาย Anser indicus นกอพยพ หายากมาก
ห่านเทาปากชมพู Anser anser นกพลัดหลง
ห่านเทาปากดำ Anser cygnoides นกพลัดหลง
ห่านหน้าผากขาว Anser albifrons นกพลัดหลง
เป็ดหงส์ Sarkidiornis melanotos นกประจำถิ่น หายาก
เป็ดพม่า Tadorna ferruginea นกอพยพ หายาก
เป็ดเชลดัก Tadorna tadorna นกอพยพ, หายากมาก
เป็ดคับแค Nettapus coromandelianus
เป็ดแมนดาริน Aix galericulata นกพลัดหลง
เป็ดเปียหน้าเหลือง Sibirionetta formosa นกพลัดหลง
เป็ดลาย Spatula querquedula นกอพยพ
เป็ดปากพลั่ว Spatula clypeata นกอพยพ
เป็ดเทาก้นดำ Mareca strepera นกอพยพ หายากมาก
เป็ดเปียหน้าเขียว Mareca falcata
เป็ดปากสั้น Mareca penelope นกอพยพ
เป็ดเทา Anas poecilorhyncha นกอพยพ หายาก
เป็ดเทาพันธุ์จีน Anas zonorhyncha นกอพยพ หายาก
เป็ดหัวเขียว Anas platyrhynchos
เป็ดหางแหลม Anas acuta นกอพยพ
เป็ดปีกเขียว Anas crecca นกอพยพ
เป็ดก่า Asarcornis scutulata หายากมาก อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
เป็ดปากแดง Netta rufina นกอพยพ หายากมาก
เป็ดโปชาดหลังขาว Aythya ferina นกอพยพ หายากมาก
เป็ดดำหัวสีน้ำตาล Aythya nyroca นกอพยพ หายาก
เป็ดดำหัวดำ Aythya baeri นกอพยพ หายาก อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
เป็ดเปีย Aythya fuligula นกอพยพ หายาก
เป็ดดำหลังขาว Aythya marila นกพลัดหลง
เป็ดหางยาว Clangula hyemalis นกพลัดหลง
เป็ดปากยาวข้างลาย Mergus squamatus นกพลัดหลง ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก


ไก่ฟ้า นกกระทา และนกคุ่ม

[แก้]
อันดับ: Galliformes วงศ์: Phasianidae

ไก่ฟ้า นกกระทา และนกคุ่มเป็นนกหากินบนพื้นดิน มีขนาดเล็กถึงใหญ่ ปีกสั้น มี 156 ชนิดทั่วโลก พบ 26 ชนิดในประเทศไทย[7]

นกแว่นสีน้ำตาล
ใกล้สูญพันธุ์จากการทำลายป่า
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระทาสองเดือย Caloperdix oculeus
ไก่จุก Rollulus rouloul
นกกระทาดงคอสีแสด Arborophila rufogularis
นกกระทาดงอกเทา Arborophila campbelli
นกกระทาดงอกสีน้ำตาล Arborophila brunneopectus
นกกระทาดงจันทบูร Arborophila cambodiana
นกกระทาดงแข้งเขียว Arborophila chloropus
นกกระทาดงปักษ์ใต้ Arborophila charltonii
ไก่นวล Rhizothera longirostris
นกหว้า Argusianus argus
นกยูงไทย Pavo muticus ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกแว่นสีน้ำตาล Polyplectron malacense
นกแว่นภูเขา Polyplectron inopinatum นกพลัดหลง
นกแว่นสีเทา Polyplectron bicalcaratum
นกคุ่มสี Synoicus chinensis
นกคุ่มญี่ปุ่น Coturnix japonica นกอพยพ หายากมาก
นกคุ่มญี่ปุ่น Coturnix coturnix
นกคุ่มอกดำ Coturnix coromandelica
นกกระทาทุ่ง Francolinus pintadeanus
นกกระทาป่าไผ่ Bambusicola fytchii
ไก่ป่า Gallus gallus
ไก่ฟ้าหางลายขวาง Syrmaticus humiae หายาก
ไก่ฟ้าหลังขาว Lophura nycthemera
ไก่ฟ้าหลังเทา Lophura leucomelanos
ไก่ฟ้าพญาลอ Lophura diardi
ไก่ฟ้าหน้าเขียว Lophura ignita หายาก


นกฟลามิงโก

[แก้]
อันดับ: Phoenicopteriformes วงศ์: Phoenicopteridae

นกฟลามิงโก เป็นนกลุยน้ำที่ชอบอยู่เป็นกลุ่มปกติจะมีขนาดส่วนสูง 0.9 - 1,5 เมตร พบในซีกโลกตะวันตก และตะวันออก นกฟลามิงโกกรองกินสิ่งมีชีวิตในน้ำเป็นอาหาร จำพวกที่มีเปลือก เช่น ไรน้ำ ลูกกุ้ง แพลงตอน และสาหร่ายบางชนิด มีจะงอยปากรูปทรงเป็นพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์เพื่อใช้สำหรับ แยกโคลน และ ตะกอน ออกจากอาหาร

นกฟลามิงโกใหญ่
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกฟลามิงโกใหญ่ Phoenicopterus roseus นกพลัดหลง

นกเป็ดผี

[แก้]
อันดับ: Podicipediformes วงศ์: Podicipedidae

นกเป็ดผีเป็นนกน้ำขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ปกติจะพบในแหล่งน้ำจืด แต่บ่อยครั้งก็พบในทะเลในช่วงฤดูอพยพและฤดูหนาว นิ้วเท้าแผ่เป็นครีบแต่ไม่ติดกันเป็นพังผืดสามารถว่ายและดำน้ำได้ดีเยี่ยม มี 20 ชนิดทั่วโลก แต่นกเป็ดผีอเลโอทรา (Alaotra Grebe) อาจสูญพันธุ์ไปแล้ว[8] ในประเทศไทยพบเพียง 3 ชนิด

นกเป็ดผีเล็กในชุดขนนอกฤดูผสมพันธุ์
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเป็ดผีเล็ก Tachybaptus ruficollis
นกเป็ดผีหงอนเหลือง Podiceps auritus นกพลัดหลง
นกเป็ดผีใหญ่ Podiceps cristatus นกอพยพ หายากมาก
นกเป็ดผีคอดำ Podiceps nigricollis นกพลัดหลง

นกพิราบและนกเขา

[แก้]
อันดับ: Columbiformes วงศ์: Columbidae

นกพิราบและนกเขาเป็นนกลำตัวอวบ คอสั้น ปากเรียวสั้น มีแผ่นเนื้อที่โคนปาก มี 308 ชนิดทั่วโลก พบ 28 ชนิดในประเทศไทย[9]

นกลุมพูขาว
นกประจำถิ่นในป่าชายหาด
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกพิราบป่า Columba livia ?
นกพิราบป่าอกลาย Columba hodgsonii
นกพิราบเขาสูง Columba pulchricollis
นกลุมพูแดง Columba punicea หายาก สถานะไม่แน่นอน
นกเขาพม่า Streptopelia orientalis
นกเขาไฟ Streptopelia tranquebarica
นกเขาใหญ่ Streptopelia chinensis
นกเขาลายใหญ่ Macropygia unchall
นกเขาลายเล็ก Macropygia ruficeps
นกเขาเขียว Chalcophaps indica
นกเขาชวา Geopelia striata นกประจำถิ่น มีถิ่นกำเนิดในภาคใต้ ถูกนำเข้าสู่ภาคกลางในประเทศไทย[10]
นกชาปีไหน Caloenas nicobarica หายาก
นกเปล้าเล็กหัวเทา Treron olax หายาก
นกเปล้าคอสีม่วง Treron vernans
นกเปล้าแดง Treron fulvicollis
นกเปล้าอกสีม่วงน้ำตาล Treron bicinctus
นกเปล้าหน้าเหลือง Treron phayrei
นกเปล้าธรรมดา Treron curvirostra
นกเปล้าใหญ่ Treron capellei หายาก
นกเปล้าขาเหลือง Treron phoenicopterus
นกเปล้าหางเข็มหัวปีกแดง Treron seimundi หายากมาก
นกเปล้าหางเข็ม Treron apicauda
นกเปล้าหางพลั่ว Treron sphenurus
นกเปล้าท้องขาว Treron sieboldii หายากมาก
นกเปล้าหน้าแดง Ptilinopus jambu
นกลุมพู Ducula aenea
นกมูม Ducula badia
นกลุมพูขาว Ducula bicolor


นกคัคคู

[แก้]
อันดับ: Cuculiformes วงศ์: Cuculidae

นกคัคคูเป็นนกขนาดเล็กถึงค่อนข้างใหญ่ ลำตัวเพรียว หางยาว ชอบวางไข่ใส่รังนกอื่นเพื่อให้เลี้ยงดูลูกแทน มี 138 ชนิดทั่วโลก พบ 31 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกกะปูดใหญ่
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกโกโรโกโส Carpococcyx renauldi
นกกะปูดนิ้วสั้น Centropus rectunguis นกพลัดหลง
นกกะปูดใหญ่ Centropus sinensis
นกกะปูดเล็ก Centropus bengalensis
นกบั้งรอกแดง Rhinortha chlorophaea
นกบั้งรอกปากแดง Zanclostomus javanicus
นกบั้งรอกเขียวอกแดง Phaenicophaeus curvirostris
นกบั้งรอกเล็กท้องแดง Phaenicophaeus sumatranus
นกบั้งรอกเล็กท้องเทา Phaenicophaeus diardi
นกบั้งรอกใหญ่ Phaenicophaeus tristis
นกคัคคูหงอน Clamator coromandus นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกคัคคูขาวดำ Clamator jacobinus
นกกาเหว่า Eudynamys scolopaceus
นกคัคคูมรกต Chrysococcyx maculatus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกคัคคูสีม่วง Chrysococcyx xanthorhynchus
นกคัคคูสีทองแดง Chrysococcyx minutillus
นกคัคคูลาย Cacomantis sonneratii
นกอีวาบตั๊กแตน Cacomantis merulinus
นกคัดคูหางแพน Cacomantis variolosus
นกคัคคูแซงแซว Surniculus dicruroides
นกคัคคูแซงแซว Surniculus lugubris
นกคัคคูเหยี่ยวเล็ก Hierococcyx vagans
นกคัคคูเหยี่ยวใหญ่ Hierococcyx sparverioides
นกคัคคูเหยี่ยวภูเขา Hierococcyx bocki
นกคัคคูเหยี่ยวพันธุ์อินเดีย Hierococcyx varius หายากมาก
นกคัคคูเหยี่ยวอกแดง Hierococcyx nisicolor
นกคัคคูเหยี่ยวมลายู Hierococcyx fugax
นกคัคคูเล็ก Cuculus poliocephalus หายากมาก
นกคัคคูพันธุ์อินเดีย Cuculus micropterus
นกคัคคูพันธุ์หิมาลัย Cuculus saturatus นกอพยพผ่าน
นกคัคคูพันธุ์ซุนดา Cuculus lepidus
นกคัคคูพันธุ์ยุโรป Cuculus canorus สถานะไม่แน่นอน


นกปากกบ

[แก้]
อันดับ: Caprimulgiformes วงศ์: Podargidae

นกปากกบเป็นนกหากินกลางคืนเป็นญาติกับนกตบยุง ปากกว้างแบน กินแมลงเป็นอาหาร มี 12 ชนิดทั่วโลก พบ 4 ชนิดในประเทศไทย[12]

นกปากกบลายดำ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกปากกบยักษ์ Batrachostomus auritus หายากมาก
นกปากกบปักษ์ใต้ Batrachostomus stellatus หายาก
นกปากกบลายดำ Batrachostomus hodgsoni
นกปากกบพันธุ์ชวา Batrachostomus affinis

นกตบยุง

[แก้]
อันดับ: Caprimulgiformes วงศ์: Caprimulgidae

นกตบยุงเป็นนกขนาดกลาง หากินกลางคืน มีปีกยาวเรียว ขาสั้น เท้าเล็ก ขนนุ่มพรางตัวได้ดี มี 86 ชนิดทั่วโลก พบ 6 ชนิดในประเทศไทย[12]

นกตบยุงหางยาว
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกตบยุงพันธุ์มลายู Lyncornis temminckii
นกตบยุงยักษ์ Lyncornis macrotis
นกตบยุงภูเขา Caprimulgus jotaka นกอพยพ, พันธุ์ในภูเขา
นกตบยุงหางยาว Caprimulgus macrurus
นกตบยุงเล็ก Caprimulgus asiaticus
นกตบยุงป่าโคก Caprimulgus affinis


นกแอ่น

[แก้]
อันดับ: Apodiformes วงศ์: Apodidae

นกแอ่นเป็นนกหากินกลางอากาศขนาดเล็ก ขาสั้น ปีกยาวโค้งคล้ายเคียว มี 98 ชนิดทั่วโลกพบ 14 ชนิดในประเทศไทย[13]

นกแอ่นบ้าน
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกแอ่นเล็กหางหนามตะโพกขาว Rhaphidura leucopygialis
นกแอ่นใหญ่คอขาว Hirundapus caudacutus นกอพยพ หายาก
นกแอ่นใหญ่หัวตาดำ Hirundapus cochinchinensis สถานะไม่แน่นอน
นกแอ่นใหญ่หัวตาขาว Hirundapus giganteus
นกแอ่นท้องขาว Collocalia affinis หายาก
นกแอ่นพันธุ์หิมาลัย Aerodramus brevirostris นกอพยพ พันธุ์ในภูเขา
นกแอ่นรังดำ Aerodramus maximus
นกแอ่นกินรัง Aerodramus fuciphagus
นกแอ่นเจอร์แมน Aerodramus germani
นกแอ่นพันธุ์ยูเรเชีย Apus apus นกพลัดหลง
นกแอ่นตะโพกขาวหางแฉก Apus pacificus นกอพยพ บางพันธุ์
นกแอ่นตะโพกขาวแถบแคบ Apus cooki
นกแอ่นท้องลาย Apus acuticauda นกอพยพ หายากมาก
นกแอ่นบ้าน Apus nipalensis
นกแอ่นตาล Cypsiurus balasiensis


นกแอ่นฟ้า

[แก้]
อันดับ: Apodiformes วงศ์: Hemiprocnidae

นกแอ่นฟ้าเป็นนกหากินในอากาศ เป็นญาติใกล้ชิดกับนกแอ่น มีหงอนบริเวณศีรษะ ลำตัวเพรียว ปีกและหางยาว มี 4 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[13]

นกแอ่นฟ้าเคราขาว
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกแอ่นฟ้าหงอน Hemiprocne coronata
นกแอ่นฟ้าตะโพกเทา Hemiprocne longipennis
นกแอ่นฟ้าเคราขาว Hemiprocne comata

นกอัญชัน

[แก้]
อันดับ: Gruiformes วงศ์: Rallidae

นกอัญชันเป็นนกขนาดเล็กถึงกลาง อาศัยอยู่ในดงพืชที่ขึ้นหนาแน่นใกล้ทะเลสาบ บึง หรือ แม่น้ำ หลบซ่อนตัวเก่ง ส่วนมากมีขาแข็งแรง นิ้วยาว ปีกสั้นกลม มี 143 ชนิดทั่วโลก พบ 15 ชนิดในประเทศไทย[14]

นกกวัก
นกประจำถิ่น พบเห็นบ่อยมาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอัญชันอกสีไพล Rallus indicus นกอพยพ
นกอัญชันอกเทา Lewinia striata
นกอัญชันเล็กลายจุด Porzana porzana นกอพยพ หายากมาก
นกอีล้ำ Gallinula chloropus
นกคู้ต Fulica atra นกอพยพ
นกอีโก้ง Porphyrio poliocephalus
นกอีลุ้ม Gallicrex cinerea นกอพยพ นกประจำถิ่น
นกกวัก Amaurornis phoenicurus
นกอัญชันคิ้วขาว Amaurornis cinerea
นกอัญชันป่าขาแดง Rallina fasciata
นกอัญชันป่าขาเทา Rallina eurizonoides หายาก, นกอพยพ
นกหนูแดง Zapornia fusca
นกอัญชันจีน Zapornia paykullii นกอพยพ หายากมาก
นกอัญชันเล็ก Zapornia pusilla นกอพยพ
นกอัญชันหางดำ Zapornia bicolor หายาก


นกฟินฟุต

[แก้]
อันดับ: Gruiformes วงศ์: Heliornithidae

นกฟินฟุตเป็นนกที่คล้ายเป็ด นิ้วเท้าเป็นแผ่นกลีบ มี 3 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[11][15]

นกฟินฟุต
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกฟินฟุต Heliopais personatus นกอพยพ, นกอพยพผ่าน ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก

นกกระเรียน

[แก้]
อันดับ: Gruiformes วงศ์: Gruidae

นกกระเรียนเป็นนกขนาดใหญ่ ขายาว คอยาว มี 15 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกกระเรียนไทย
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระเรียนเล็ก Anthropoides virgo นกพลัดหลง
นกกระเรียนไทย Antigone antigone สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย
นกกระเรียนพันธุ์ยุโรป Grus grus นกพลัดหลง

นกกระแตผี

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Burhinidae

นกกระแตผีเป็นนกลุยน้ำขนาดกลางถึงใหญ่ที่พบได้ในเขตร้อนของโลก มีปากสีดำหรือสีดำเหลือง ตาสีเหลืองโต แม้ว่าจะจัดเป็นนกลุยน้ำ แต่ส่วนมากจะอาศัยอยู่ในแถบแห้งแล้งหรือกึ่งแห้งแล้ง มี 9 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[16]

นกกระแตผีเล็ก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระแตผีเล็ก Burhinus indicus หายาก
นกกระแตผีใหญ่ Esacus recurvirostris อาจสูญพันธุ์แล้ว
นกกระแตผีชายหาด Esacus magnirostris หายาก พบเฉพาะบางพื้นที่

นกตีนเทียน

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Recurvirostridae

นกตีนเทียนเป็นนกลุยน้ำขนาดกลาง มีขายาวมาก และปากตรงหรือโค้งขึ้น หางสั้น มี 9 ชนิดทั่วโลก พบ 2 ชนิดในประเทศไทย[16]

นกตีนเทียน นกประจำถิ่นในพื้นที่น้ำท่วมขัง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกตีนเทียน Himantopus himantopus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกปากงอน Recurvirostra avosetta นกพลัดหลง

นกกินหอยนางรม

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Haematopodidae

นกกินหอยนางรม เป็นนกขนาดใหญ่ และชอบส่งเสียงดังที่เป็นนกที่มีจงอยปากที่แข็ง สำหรับกระแทก ทุบ หรือแงะฝาหอย

นกกินหอยนางรม
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกินหอยนางรม Haematopus ostralegus นกพลัดหลง

นกหัวโตและนกกระแต

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Charadriidae

นกหัวโตและนกกระแตเป็นนกขนาดเล็กถึงกลาง ตัวป้อม คอสั้นหนา ปีกยาวแหลม พบได้ทั่วโลก ส่วนมากมีถิ่นอาศัยใกล้แหล่งน้ำ มี 66 ชนิดทั่วโลก พบ 14 ชนิดในประเทศไทย[16]

นกหัวโตสีเทา นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกหัวโตสีเทา Pluvialis squatarola นกอพยพ
นกหัวโตหลังจุดสีทอง Pluvialis fulva นกอพยพ
นกกระแตหงอน Vanellus vanellus นกอพยพ หายาก
นกกระแตหาด Vanellus duvaucelii
นกกระแตหัวเทา Vanellus cinereus นกอพยพ
นกกระแตแต้แว้ด Vanellus indicus
นกหัวโตทรายเล็ก Charadrius mongolus นกอพยพ
นกหัวโตทรายใหญ่ Charadrius leschenaultii นกอพยพ
นกหัวโตมลายู Charadrius peronii
นกหัวโตขาดำ Charadrius alexandrinus นกอพยพ
นกหัวโตขาสีส้ม Charadrius hiaticula นกพลัดหลง
นกหัวโตปากยาว Charadrius placidus นกอพยพ หายาก
นกหัวโตเล็กขาเหลือง Charadrius dubius นกอพยพ
นกหัวโตขายาว Charadrius veredus นกพลัดหลง


นกโป่งวิด

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Rostratulidae

นกโป่งวิดมีขาสั้นปากยาวคล้ายนกปากซ่อม แต่มีสีสดใสกว่า มี 2 ชนิดทั่วโลกประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว[16]

นกโป่งวิดเพศเมีย
เป็นนกไม่กี่ชนิดที่เพศเมียมีสีสันสดใสกว่าเพศผู้[3]
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกโป่งวิด Rostratula benghalensis

นกอีแจว

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Jacanidae

นกอีแจวเป็นนกลุยน้ำที่พบได้ทั่วโลกในเขตร้อน มีขายาว นิ้วยาว สามารถเดินบนพืชลอยน้ำได้ มี 8 ชนิดทั่วโลก พบ 2 ชนิดในประเทศไทย[16]

นกพริก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอีแจว Hydrophasianus chirurgus นกอพยพ นกประจำถิ่น
นกพริก Metopidius indicus

นกชายเลนและนกปากซ่อม

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Scolopacidae

นกชายเลนและนกปากซ่อมเป็นนกลุยน้ำขนาดเล็กถึงกลาง ส่วนใหญ่กินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กจากโคลนหรือดิน ความยาวและขนาดของปากและขาแตกต่างกันไปแล้วแต่แหล่งหากิน มี 89 ชนิดทั่วโลก พบ 39 ชนิดในประเทศไทย[16]

นกสติ๊นท์คอแดง
นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอีก๋อยเล็ก Numenius phaeopus นกอพยพ
นกอีก๋อยจิ๋ว Numenius minutus นกอพยพผ่าน หายากมาก
นกอีก๋อยตะโพกสีน้ำตาล Numenius madagascariensis นกอพยพผ่าน หายาก ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกอีก๋อยใหญ่ Numenius arquata นกอพยพ
นกปากแอ่นหางลาย Limosa lapponica นกอพยพ
นกปากแอ่นหางดำ Limosa limosa นกอพยพ
นกพลิกหิน Arenaria interpres นกอพยพ
นกน็อทใหญ่ Calidris tenuirostris นกอพยพผ่าน ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกน็อทเล็ก Calidris canutus นกอพยพ
นกรัฟ Calidris pugnax นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกชายเลนปากกว้าง Calidris falcinellus นกอพยพ
นกชายเลนกระหม่อมแดง Calidris acuminata นกอพยพ หายากมาก
นกชายเลนปากโค้ง Calidris ferruginea นกอพยพ
นกสติ๊นท์อกเทา Calidris temminckii นกอพยพ
นกสติ๊นท์นิ้วยาว Calidris subminuta นกอพยพ
นกชายเลนปากช้อน Calidris pygmaea นกอพยพผ่าน หายาก ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกสติ๊นท์คอแดง Calidris ruficollis นกอพยพ
นกคอสั้นตีนไว Calidris alba นกอพยพ
นกชายเลนท้องดำ Calidris alpina นกอพยพ หายาก
นกสติ๊นท์เล็ก Calidris minuta นกอพยพ[3] หายาก
นกชายเลนอกลาย Calidris melanotos
นกซ่อมทะเลอกแดง Limnodromus semipalmatus นกอพยพผ่าน หายาก
นกซ่อมทะเลปากยาว Limnodromus scolopaceus หายากมาก
นกปากซ่อมเล็ก Lymnocryptes minimus นกอพยพ หายาก
นกปากซ่อมดง Scolopax rusticola นกอพยพ
นกปากซ่อมพง Gallinago nemoricola นกอพยพ หายากมาก
นกปากซ่อมหางพัด Gallinago gallinago นกอพยพ
นกปากซ่อมหางเข็ม Gallinago stenura นกอพยพ
นกปากซ่อมสวินโฮ Gallinago megala นกอพยพ หายากมาก
นกชายเลนปากแอ่น Xenus cinereus นกอพยพ
นกลอยทะเลคอแดง Phalaropus lobatus นกอพยพ นกอพยพผ่าน หายาก
นกลอยทะเลสีแดง Phalaropus fulicarius นกอพยพ นกอพยพผ่าน หายาก
นกเด้าดิน Actitis hypoleucos นกอพยพ
นกชายเลนเขียว Tringa ochropus นกอพยพ
นกตีนเหลือง Tringa brevipes นกอพยพผ่าน หายาก
นกทะเลขาแดงลายจุด Tringa erythropus นกอพยพ
นกทะเลขาเขียว Tringa nebularia นกอพยพ
นกทะเลขาเขียวลายจุด Tringa guttifer นกอพยพ หายาก ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกชายเลนบึง Tringa stagnatilis นกอพยพ
นกชายเลนน้ำจืด Tringa glareola นกอพยพ
นกทะเลขาแดงธรรมดา Tringa totanus นกอพยพ


นกคุ่มอืด

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Turnicidae

นกคุ่มอืดเป็นนกขนาดเล็ก หากินบนพื้นดิน เพศเมียตัวใหญ่ สีสดใส และเป็นฝ่ายเกี้ยวพาราสี เพศผู้กกไข่และเลี้ยงดูลูก มี 16 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[7]

นกคุ่มอกลาย, นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกคุ่มอืดเล็ก Turnix sylvaticus
นกคุ่มอืดใหญ่ Turnix tanki
นกคุ่มอกลาย Turnix suscitator

นกหัวโตกินปู

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Dromadidae

นกหัวโตกินปูเป็นนกชนิดเดียวในวงศ์ มีขายาว ปากหนาและแบนด้านข้าง ขนมีสีขาว-ดำ[16]

นกหัวโตกินปู
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกหัวโตกินปู Dromas ardeola หายาก

นกแอ่นทุ่ง

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Glareolidae

นกแอ่นทุ่งมีขาสั้น ปีกยาวเรียว และหางยาวเป็นแฉก มี 17 ชนิดทั่วโลก พบ 2 ชนิดในประเทศไทย[16]

นกแอ่นทุ่งเล็ก, หากินโดยการบินจับแมลง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกแอ่นทุ่งขอบปีกขาว Glareola pratincola นกพลัดหลง
นกแอ่นทุ่งใหญ่ Glareola maldivarum นกอพยพ
นกแอ่นทุ่งเล็ก Glareola lactea นกประจำถิ่น นกอพยพ

นกสกัว

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Stercorariidae

นกสกัวเป็นนกขนาดกลางถึงใหญ่ ขนมีสีเทาหรือน้ำตาล บางชนิดมีสีขาวแต้มบนปีก เป็นนกอพยพระยะไกล มี 7 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[17]

นกสกัวหางช้อน
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกสกัวหางช้อน Stercorarius pomarinus นกอพยพ
นกสกัวขั้วโลกเหนือ Stercorarius parasiticus นกอพยพ หายาก
นกสกัวหางยาว Stercorarius longicaudus

นกนางนวลและนกนางนวลแกลบและนกกรีดน้ำ

[แก้]
อันดับ: Charadriiformes วงศ์: Laridae

นกในวงศ์ (Laridae) ประกอบไปด้วยนกทะเล 3 ชนิดคือ นกนางนวล นกนางนวลแกลบ และ นกกรีดน้ำ

นกนางนวลเป็นนกทะเลขนาดกลาง มีขนสีเทาหรือขาว บางชนิดมีสีดำแต้มที่หัวหรือปีก มีปากหนา ยาว และเท้าเป็นผังพืด มี 55 ชนิดทั่วโลก พบ 9 ชนิดในประเทศไทย[17]

นกนางนวลแกลบเป็นนกทะเลขนาดกลางถึงใหญ่ ปกติมีขนสีเทาหรือขาว บางชนิดมีสีดำแต้มที่หัว นกนางนวลแกลบส่วนมากจับปลาโดยการดำน้ำลงไป แต่บางครั้งก็จับแมลงบนผิวน้ำกันเป็นอาหาร นกนางนวลแกลบเป็นนกที่มีอายุยืน บางชนิดมีอายุมากกว่า 25-30 ปี มี 44 ชนิดทั่วโลก พบ 16 ชนิดในประเทศไทย[17]

นกกรีดน้ำมีปากล่างยาวกว่าปากบน หาอาหารด้วยการบนเหนือผิวน้ำและใช้ปากกรีดไปตามผิวน้ำเพื่อจับปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร มี 3 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[17]

นกนางนวลหลังดำพันธุ์รัสเซีย
นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกคิตติเวกขาดำ Rissa tridactyla นกพลัดหลง
นกนางนวลปลายปากเหลือง Xema sabini นกพลัดหลง
นกนางนวลปากเรียว Chroicocephalus genei นกอพยพ หายากมาก
นกนางนวลขอบปีกขาว Chroicocephalus ridibundus นกอพยพ
นกนางนวลธรรมดา Chroicocephalus brunnicephalus นกอพยพ หายาก
นกนางนวลเล็ก Hydrocoloeus minutus นกพลัดหลง
นกนางนวลสีเทาดำ Ichthyaetus hemprichii นกพลัดหลง
นกนางนวลหัวดำใหญ่ Ichthyaetus ichthyaetus นกอพยพ หายากมาก
นกนางนวลหางดำ Larus crassirostris นกอพยพ หายากมาก
นกนางนวลปากเหลือง Larus canus นกพลัดหลง
นกนางนวลแฮร์ริ่ง Larus argentatus
นกนางนวลขาเหลือง Larus cachinnans นกพลัดหลง
นกนางนวลหลังดำเล็ก Larus fuscus นกพลัดหลง
นกนางนวลหลังเทา[18] Larus schistisagus นกพลัดหลง
นกน็อดดี Anous stolidus
นกนางนวลแกลบดำ Onychoprion fuscatus
นกนางนวลแกลบคิ้วขาว Onychoprion anaethetus
นกนางนวลแกลบอะลูเชียน Onychoprion aleuticus นกพลัดหลง
นกนางนวลแกลบเล็ก Sternula albifrons
นกนางนวลแกลบปากหนา Gelochelidon nilotica นกอพยพ
นกนางนวลแกลบแคสเปียน Hydroprogne caspia นกอพยพ
นกนางนวลแกลบดำปีกขาว Chlidonias leucopterus นกอพยพ
นกนางนวลแกลบเคราขาว Chlidonias hybrida
นกนางนวลแกลบสีกุหลาบ Sterna dougallii
นกนางนวลแกลบท้ายทอยดำ Sterna sumatrana
นกนางนวลแกลบธรรมดา Sterna hirundo นกอพยพ
Sterna paradisaea นกพลัดหลง
นกนางนวลแกลบท้องดำ Sterna acuticauda ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกนางนวลแกลบแม่น้ำ Sterna aurantia
นกนางนวลแกลบหงอนใหญ่ Thalasseus bergii
นกนางนวลแกลบหงอนเล็ก Thalasseus bengalensis นกอพยพ หายาก
นกนางนวลแกลบจีน Thalasseus bernsteini นกพลัดหลง อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
นกกรีดน้ำ Rynchops albicollis พบยากมาก


นกร่อนทะเล

[แก้]
อันดับ: Phaethontiformes วงศ์: Phaethontidae

นกร่อนทะเลเป็นนกรูปร่างเพรียวสีขาวหากินในมหาสมุทรเขตร้อน มีขนหางคู่ตรงกลางยาวเป็นพิเศษ หัวและปีกที่ยาวมีสีดำแต้ม มี 3 ชนิดทั่วโลก ประเทศไทยพบ 2 ชนิด[17]

นกร่อนทะเลหางแดง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกร่อนทะเลหางขาว Phaethon lepturus นกพลัดหลง
นกร่อนทะเลปากแดง Phaethon aethereus นกพลัดหลง`
นกร่อนทะเลหางแดง Phaethon rubricauda นกพลัดหลง

นกอัลบาทรอส

[แก้]
อันดับ: Procellariiformes วงศ์: Diomedeidae

นกอัลบาทรอสเป็นนกที่ใหญ่ที่สุดในบรรดานกที่บินได้ และ นกอัลบาทรอสใหญ่ ในสกุล (Diomeidea) มีปีกที่ยาวที่สุดของนกที่ยังมีชีวิตอยู่

นกอัลบาทรอสหลังดำ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอัลบาทรอสหลังดำ Phoebastria immutabilis นกพลัดหลง

นกโต้คลื่น

[แก้]

อันดับ: Procellariiformes วงศ์: Hydrobatidae

นกโต้คลื่นเป็นนกขนาดเล็กที่ใช้เวลาส่วนมากหากินในทะเล จะกลับเข้าฝั่งเพื่อผสมพันธุ์เท่านั้น กินสัตว์พวกกุ้ง กั้ง ปู และปลาขนาดเล็กที่จับได้จากผิวน้ำขณะบินโฉบ มี 22 ชนิดเป็นทั่วโลก มีเพียงชนิดเดียวที่พบในประเทศไทย[19]

นกโต้คลื่นสีคล้ำ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกโต้คลื่นสีคล้ำ Oceanodroma monorhis นกพลัดหลง

นกจมูกหลอด

[แก้]
อันดับ: Procellariiformes วงศ์: Procellariidae

นกจมูกหลอดเป็นนกทะเลขนาดเล็กถึงใหญ่ มีจมูกเป็นหลอดเหนือโคนปาก รูจมูกมีผนังกั้นกลาง มี 75 ชนิดทั่วโลก พบสามชนิดในประเทศไทย[19]

นกจมูกหลอดหางสั้นเป็นนกอพยพทางไกลพบในประเทศไทยเป็นบางครั้ง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
Pterodroma cervicalis นกพลัดหลง
นกจมูกหลอดลาย Calonectris leucomelas นกอพยพ หายากมาก
นกจมูกหลอดหางพลั่ว Ardenna pacificus นกพลัดหลง
นกจมูกหลอดหางสั้น Ardenna tenuirostris นกพลัดหลง[20]

นกกระสาและนกตะกรุม

[แก้]
อันดับ: Ciconiiformes วงศ์: Ciconiidae

นกกระสาและนกตะกรุมเป็นนกลุยน้ำขนาดใหญ่ ขายาว คอยาว ปากยาวหนา หลายชนิดเป็นนกอพยพ มี 19 ชนิดทั่วโลก พบ 10 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกกาบบัว
นกประจำถิ่นพบยากและนกอพยพผ่าน
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกปากห่าง Anastomus oscitans
นกกระสาดำ Ciconia nigra นกอพยพ หายาก
นกกระสาคอยาว Ciconia episcopus
นกกระสาคอขาวปากแดง Ciconia stormi ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกกระสาขาว Ciconia ciconia นกพลัดหลง
Ciconia boyciana
นกกระสาคอดำ Ephippiorhynchus asiaticus สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย
นกตะกรุม Leptoptilos javanicus หายาก
นกตะกราม Leptoptilos dubius สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกกระสาปากเหลือง Mycteria cinerea สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก[21]
นกกาบบัว Mycteria leucocephala


นกโจรสลัด

[แก้]
อันดับ: Suliformes วงศ์: Fregatidae

นกโจรสลัดเป็นนกทะเลขนาดใหญ่มักจะพบทั่วไปในทะเลเขตร้อน มีขนาดใหญ่ ขนมีสีดำและสีขาวหรือสีดำสนิท มีปีกยาว และหางเป็นแฉกลึก เพศผู้มีถุงลมใต้คอ มีช่วงปีกใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว มี 5 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[17]

นกโจรสลัดเล็ก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกโจรสลัดเล็ก Fregata ariel นกอพยพ
นกโจรสลัดเกาะคริสต์มาส Fregata andrewsi นกอพยพ อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
นกโจรสลัดใหญ่ Fregata minor หายาก

นกบูบี

[แก้]
อันดับ: Suliformes วงศ์: Sulidae

นกบูบีเป็นนกทะเลขนาดกลางถึงใหญ่ มี 9 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[17]

นกบูบีหน้าดำ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกบูบีหน้าดำ Sula dactylatra นกพลัดหลง
นกบูบีสีน้ำตาล Sula leucogaster นกอพยพ หายาก เคยเป็นนกประจำถิ่น
นกบูบีตีนแดง Sula sula นกพลัดหลง

นกอ้ายงั่ว

[แก้]
อันดับ: Suliformes วงศ์: Anhingidae

นกอ้ายงั่วมีอีกชื่อหนึ่งคือ"นกงู"เพราะคอที่ยาวของมัน ซึ่งดูคล้ายงูเมื่อมันลงว่ายน้ำ มี 4 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[17]

นกอ้ายงั่ว โตเต็มที่ หายาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอ้ายงั่ว Anhinga melanogaster หายาก

นกกาน้ำ

[แก้]
อันดับ: Suliformes วงศ์: Phalacrocoracidae

นกกาน้ำเป็นนกขนาดกลางถึงใหญ่ กินปลาเป็นอาหาร ส่วนมากมีขนสีดำ บางชนิดเป็นลายขาว-ดำ หรือสีสันสดใส มี 38 ชนิดทั่วโลก พบในประเทศไทย 3 ชนิด[17]

นกกาน้ำเล็ก, นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกาน้ำเล็ก Microcarbo niger
นกกาน้ำใหญ่ Phalacrocorax carbo
นกกาน้ำปากยาว Phalacrocorax fuscicollis นกอพยพ หายาก เคยเป็นนกประจำถิ่น


นกกระทุง

[แก้]
อันดับ: Pelecaniformes วงศ์: Pelecanidae

นกกระทุงเป็นนกน้ำขนาดใหญ่ มีลักษณะพิเศษคือมีถุงใต้จะงอยปาก นิ้วเท้ามีพังผืดยึดทั้ง 4 นิ้ว มี 8 ชนิดทั่วโลก ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว[17]

นกกระทุง, หายากใกล้สูญพันธุ์
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระทุง Pelecanus philippensis หายาก ถูกคุกคามทั่วโลก[22]

นกยาง

[แก้]
อันดับ: Pelecaniformes วงศ์: Ardeidae

นกยางเป็นนกลุยน้ำขนาดกลางถึงใหญ่ หลายชนิดมีคอยาว มี 61 ชนิดทั่วโลก พบ 20 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกยางไฟหัวดำ
นกประจำถิ่นและนกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกยางแดงใหญ่ Botaurus stellaris นกอพยพ
นกยางไฟหัวดำ Ixobrychus sinensis
นกยางไฟหัวเทา Ixobrychus eurhythmus นกอพยพผ่าน
นกยางไฟธรรมดา Ixobrychus cinnamomeus
นกยางดำ Ixobrychus flavicollis
นกกระสานวล Ardea cinerea นกอพยพ, เคยขยายพันธุ์ในประเทศไทย
นกกระสาใหญ่ Ardea sumatrana หายากมาก
นกกระสาแดง Ardea purpurea นกอพยพ
นกยางโทนใหญ่ Ardea alba
นกยางโทนน้อย Ardea intermedia นกอพยพ
นกยางจีน Egretta eulophotes นกอพยพ, หายากมาก
นกยางเปีย Egretta garzetta
นกยางทะเล Egretta sacra
นกยางควาย Bubulcus ibis
นกยางกรอกพันธุ์อินเดีย Ardeola grayii
นกยางกรอกพันธุ์จีน Ardeola bacchus นกอพยพ
นกยางกรอกพันธุ์ชวา Ardeola speciosa
นกยางเขียว Butorides striata
นกแขวก Nycticorax nycticorax
นกยางลายเสือ Gorsachius melanolophus


นกกุลาและนกปากช้อน

[แก้]
อันดับ: Pelecaniformes วงศ์: Threskiornithidae

นกกุลาและนกปากช้อนเป็นนกน้ำขนาดกลางถึงใหญ่ ขายาว ปากยาวโค้งหรือแผ่แบนตรงปลาย มี 36 ชนิดทั่วโลกพบ 6 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกปากช้อนหน้าหน้าดำ
นกอพยพพบได้ยาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกช้อนหอยดำเหลือบ Plegadis falcinellus
นกช้อนหอยขาวแอฟริกา Threskiornis aethiopicus นำเข้ามาโดยมนุษย์
นกช้อนหอยขาว Threskiornis melanocephalus
นกช้อนหอยดำ Pseudibis davisoni สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกช้อนหอยใหญ่ Pseudibis gigantea สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกปากช้อนหน้าขาว Platalea leucorodia นกอพยพ หายาก
นกปากช้อนหน้าหน้าดำ Platalea minor นกอพยพ, หายากมาก ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก


เหยี่ยวออสเปร

[แก้]
อันดับ: Accipitriformes วงศ์: Pandionidae

เหยี่ยวออสเปรเป็นชนิดเดียวในสกุล และวงศ์ เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลาง กินปลาเป็นอาหารหลัก มีการกระจายพันธุ์ทั่วโลก[23]

เหยี่ยวออสเปร
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
เหยี่ยวออสเปร Pandion haliaetus นกอพยพ

เหยี่ยวและนกอินทรี

[แก้]
อันดับ: Accipitriformes วงศ์: Accipitridae

เหยี่ยวและนกอินทรีเป็นนกล่าเหยื่อที่มีจะงอยปากโค้งงอไว้สำหรับฉีกเนื้อจากเหยื่อ มีขาที่แข็งแรง อุ้งเท้าที่ทรงพลัง และมีสายตาแหลมคม มี 233 ชนิดทั่วโลก พบ 46 ชนิดในประเทศไทย[24]

เหยี่ยวรุ้ง,
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
เหยี่ยวขาว Elanus caeruleus
เหยี่ยวผึ้ง Pernis ptilorhynchus
เหยี่ยวกิ้งก่าสีน้ำตาล Aviceda jerdoni
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ Aviceda leuphotes
พญาแร้ง Sarcogyps calvus อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
แร้งดำหิมาลัย Aegypius monachus นกอพยพ หายาก
แร้งเทาหลังขาว Gyps bengalensis สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
แร้งสีน้ำตาล Gyps tenuirostris สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
แร้งสีน้ำตาลหิมาลัย Gyps himalayensis นกพลัดหลง
เหยี่ยวรุ้ง Spilornis cheela
เหยี่ยวนิ้วสั้น Circaetus gallicus นกอพยพผ่าน นกอพยพ หายาก
เหยี่ยวค้างคาว Macheiramphus alcinus
เหยี่ยวต่างสี Nisaetus cirrhatus
เหยี่ยวภูเขา Nisaetus nipalensis
เหยี่ยวดำท้องขาว Nisaetus alboniger
เหยี่ยวหงอนสีน้ำตาลท้องขาว Nisaetus nanus
เหยี่ยวท้องแดง Lophotriorchis kienerii
นกอินทรีดำ Ictinaetus malaiensis
นกอินทรีปีกลายพันธุ์อินเดีย Clanga hastata นกพลัดหลง
นกอินทรีปีกลาย Clanga clanga นกอพยพผ่าน นกอพยพ หายาก
นกอินทรีเล็ก Hieraaetus pennatus นกอพยพผ่าน นกอพยพ หายาก
นกอินทรีทุ่งหญ้าสเต็ป Aquila nipalensis นกพลัดหลง
นกอินทรีหัวไหล่ขาว Aquila heliaca นกอพยพ หายาก
นกอินทรีแถบปีกดำ Aquila fasciata หายาก
เหยี่ยวตาขาว Butastur teesa นกพลัดหลง
เหยี่ยวตาขาว Butastur liventer
เหยี่ยวหน้าเทา Butastur indicus นกอพยพผ่าน นกอพยพ
เหยี่ยวทุ่งพันธุ์ยูเรเซีย Circus aeruginosus นกอพยพ หายาก
เหยี่ยวทุ่งพันธุ์เอเชียตะวันออก Circus spilonotus นกอพยพ
เหยี่ยวทุ่งแถบเหนือ Circus cyaneus นกอพยพ หายาก
เหยี่ยวทุ่งสีจาง Circus macrourus นกพลัดหลง
เหยี่ยวด่างดำขาว Circus melanoleucos นกอพยพ
เหยี่ยวนกเขาหงอน Accipiter trivirgatus
เหยี่ยวนกเขาชิครา Accipiter badius
เหยี่ยวนกเขาพันธุ์จีน Accipiter soloensis นกอพยพผ่าน นกอพยพ
เหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่น Accipiter gularis นกอพยพผ่าน และ นกอพยพ
เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก Accipiter virgatus
เหยี่ยวนกกระจอกใหญ่ Accipiter nisus นกอพยพ หายาก
เหยี่ยวนกเขาท้องขาว Accipiter gentilis นกอพยพ หายาก
เหยี่ยวดำ Milvus migrans นกอพยพ
เหยี่ยวแดง Haliastur indus
นกอินทรีหางขาว Haliaeetus albicilla นกพลัดหลง
นกอินทรีหัวสีนวล Haliaeetus leucoryphus
นกออก Haliaeetus leucogaster
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา Ichthyophaga humilis หายาก
เหยี่ยวปลาใหญ่หัวเทา Ichthyophaga ichthyaetus หายากมาก
เหยี่ยวทะเลทราย Buteo buteo นกอพยพ
เหยี่ยวทะเลทรายหิมาลัย Buteo refectus
เหยี่ยวทะเลทรายตะวันออก Buteo japonicus นกอพยพ
เหยี่ยวทะเลทรายขายาว Buteo rufinus นกพลัดหลง


นกแสก

[แก้]
อันดับ: Strigiformes วงศ์: Tytonidae

นกแสกเป็นนกเค้าขนาดกลางถึงใหญ่ มีหัวใหญ่ หน้ารูปหัวใจ มีขายาวและอุ้งเท้าแข็งแรง มี 16 ชนิดทั่วโลก พบในประเทศไทย 2 ชนิด[11]

นกแสกทุ่งหญ้า
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกแสกทุ่งหญ้า Tyto longimembris
นกแสก Tyto alba
นกแสกแดง Phodilus badius

นกเค้า

[แก้]
อันดับ: Strigiformes วงศ์: Strigidae

นกเค้าเป็นนกล่าเหยื่อขนาดเล็กถึงใหญ่ มีตาและหูขนาดใหญ่ วงหน้ามักกลม มี 195 ชนิดทั่วโลก พบ 18 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกฮูก (ชุดขนสีเทา)
นกประจำถิ่น พบบ่อยมาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเค้าหน้าผากขาว Otus sagittatus หายาก
นกเค้าแดง Otus rufescens
นกเค้าภูเขา Otus spilocephalus
นกเค้ากู่ Otus lettia
นกฮูกซุนดา Otus lempiji
นกเค้าหูยาวเล็ก Otus sunia
นกเค้าใหญ่พันธุ์เนปาล Bubo nipalensis
นกเค้าใหญ่พันธุ์สุมาตรา Bubo sumatranus
นกเค้าใหญ่สีคล้ำ Bubo coromandus หายากมาก
นกทึดทือพันธุ์เหนือ Ketupa zeylonensis
นกทึดทือพันธุ์มลายู Ketupa ketupu
นกเค้าแคระ Glaucidium brodiei
นกเค้าโมง Glaucidium cuculoides
นกเค้าจุด Athene brama
นกเค้าป่าหลังจุด Strix seloputo
นกเค้าป่าสีน้ำตาล Strix leptogrammica
นกเค้าแมวหูสั้น Asio flammeus นกอพยพ หายากมาก
นกเค้าเหยี่ยว Ninox scutulata
นกเค้าเหยี่ยวพันธุ์เหนือ Ninox japonica นกพลัดหลง


นกขุนแผน

[แก้]
อันดับ: Trogoniformes วงศ์: Trogonidae

นกขุนแผนพบได้ในพื้นที่ป่าทั่วโลก กินแมลงและผลไม้เป็นอาหาร ขนมีสีสันสดใส เพศผู้และเมียมีสีขนต่างกัน มี 33 ชนิดทั่วโลก พบ 6 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกขุนแผนหัวแดง
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกขุนแผนท้ายทอยแดง Harpactes kasumba หายาก
นกขุนแผนหัวดำ Harpactes diardii
นกขุนแผนตะโพกสีน้ำตาล Harpactes orrhophaeus หายาก
นกขุนแผนตะโพกแดง Harpactes duvaucelii
นกขุนแผนหัวแดง Harpactes erythrocephalus
นกขุนแผนอกสีส้ม Harpactes oreskios

นกกะรางหัวขวาน

[แก้]
อันดับ: Bucerotiformes วงศ์: Upupidae

นกกะรางหัวขวานมีขนสีดำ ขาว และชมพู มีหงอนขนาดใหญ่บนหัว มี 2 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[25]

นกกะรางหัวขวาน
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกะรางหัวขวาน Upupa epops

นกเงือก

[แก้]
อันดับ: Bucerotiformes วงศ์: Bucerotidae

นกเงือกเป็นนกที่มีปากรูปร่างคล้ายเขาวัวแต่ไม่บิดตัว บางชนิดมีโหนกเหนือปากบน บ่อยครั้งปากมีสีสันสดใส มี 57 ชนิดทั่วโลก พบ 13 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกแก๊ก
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเงือกหัวหงอก Berenicornis comatus
นกชนหิน Buceros vigil อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
นกเงือกหัวแรด Buceros rhinoceros หายาก
นกกก Buceros bicornis
นกเงือกปากดำ Anorrhinus galeritus
นกเงือกสีน้ำตาลคอขาว Anorrhinus austeni
นกเงือกสีน้ำตาล Anorrhinus tickelli
นกเงือกดำ Anthracoceros malayanus หายาก
นกแก๊ก Anthracoceros albirostris
นกเงือกคอแดง Aceros nipalensis หายาก
นกเงือกกรามช้าง Rhyticeros undulatus
นกเงือกกรามช้างปากเรียบ Rhyticeros subruficollis หายาก
นกเงือกปากย่น Rhabdotorrhinus corrugatus


นกกะเต็น

[แก้]
อันดับ: Coraciiformes วงศ์: Alcedinidae

นกกะเต็นเป็นนกขนาดกลาง มีหัวใหญ่ ปากยาวแหลม ขาสัน และหางสั้นหนา มี 93 ชนิดทั่วโลก พบ 16 ชนิดในประเทศไทย[26]

นกกะเต็นใหญ่ธรรมดา
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกะเต็นเฮอร์คิวลิส Alcedo hercules นกอพยพ หายากมาก
นกกะเต็นน้อยธรรมดา Alcedo atthis นกอพยพ
นกกะเต็นน้อยหลังสีน้ำเงิน Alcedo meninting
นกกะเต็นน้อยแถบอกดำ Alcedo euryzona
นกกะเต็นน้อยสามนิ้วหลังดำ Ceyx erithaca
นกกะเต็นน้อยสามนิ้วหลังแดง Ceyx rufidorsa
นกกะเต็นลาย Lacedo pulchella
นกกะเต็นใหญ่ปีกสีน้ำตาล Pelargopsis amauroptera
นกกะเต็นใหญ่ธรรมดา Pelargopsis capensis
นกกะเต็นแดง Halcyon coromanda
นกกะเต็นอกขาว Halcyon smyrnensis
นกกะเต็นหัวดำ Halcyon pileata นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกกินเปี้ยวท้องสีส้ม Todiramphus sanctus นกพลัดหลง
นกกินเปี้ยว Todiramphus chloris
นกกะเต็นสร้อยคอสีน้ำตาล Actenoides concretus หายาก กำลังลดจำนวนลง
นกกะเต็นขาวดำใหญ่ Megaceryle lugubris
นกกะเต็นปักหลัก Ceryle rudis


นกจาบคา

[แก้]
อันดับ: Coraciiformes วงศ์: Meropidae

นกจาบคาเป็นวงศ์ของนกที่ใกล้กับนกจับคอน ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา แต่ก็มีพบทางใต้ของยุโรป ทางใต้ของเอเชีย ออสเตรเลีย และนิวกินี มีสีสดใส รูปร่างเพรียว หางคู่กลางยาว มีปากยาวโค้งลง ปีกยาวแหลม มี 26 ชนิดทั่วโลก พบ 6 ชนิดในประเทศไทย[26]

นกจาบคาเคราแดง
นกประจำถิ่น พบบ่อย
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจาบคาเคราแดง Nyctyornis amictus
นกจาบคาเคราน้ำเงิน Nyctyornis athertoni
นกจาบคาเล็ก Merops orientalis
นกจาบคาคอสีฟ้า Merops viridis นกประจำถิ่น, นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกจาบคาหัวเขียว Merops philippinus นกประจำถิ่น, นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกจาบคาหัวสีส้ม Merops leschenaulti


นกตะขาบ

[แก้]
อันดับ: Coraciiformes วงศ์: Coraciidae

นกตะขาบมีขนาดพอ ๆ กับอีกา แต่เป็นญาติกับนกกระเต็นและนกจาบคา มีสีฟ้าและน้ำตาลเป็นหลัก มี 12 ชนิดทั่วโลก พบสองชนิดในประเทศไทย[26]

นกตะขาบทุ่ง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกตะขาบทุ่ง Coracias affinis นกประจำถิ่น
นกตะขาบดง Eurystomus orientalis นกประจำถิ่น

นกโพระดก

[แก้]
อันดับ: Piciformes วงศ์: Megalaimidae

นกโพระดกเป็นนกตัวอ้วนกลม มีคอสั้นและหัวใหญ่ ส่วนใหญ่มีสีสันสดใส มี 84 ชนิดทั่วโลก พบ 15 ชนิดในประเทศไทย[27]

นกตีทอง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจอกป่าหัวโต Caloramphus hayii
นกตีทอง Psilopogon haemacephalus
นกโพระดกหน้าผากดำ Psilopogon duvaucelii
นกโพระดกหนวดแดง Psilopogon pyrolophus นกพลัดหลง
นกตั้งล้อ Psilopogon virens
นกโพระดกหลากสี Psilopogon rafflesii หายาก
นกโพระดกคางแดง Psilopogon mystacophanos
นกโพระดกหัวเหลือง Psilopogon henricii
นกโพระดกหูเขียว Psilopogon faiostrictus
นกโพระดกธรรมดา Psilopogon lineatus
นกโพระดกคางเหลือง Psilopogon franklinii
Psilopogon auricularis
นกโพระดกเคราเหลือง Psilopogon chrysopogon
นกโพระดกคอสีฟ้าเคราดำ Psilopogon incognitus
นกโพระดกคอสีฟ้า Psilopogon asiaticus
นกโพระดกเขาหลวง Psilopogon chersonesus


นกพรานผึ้ง

[แก้]
อันดับ: Piciformes วงศ์: Indicatoridae

นกพรานผึ้งเป็นนกขาดเล็กถึงกลาง กินแมลงและขี้ผึ้งเป็นอาหาร มี 17 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[11]

นกพรานผึ้ง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกพรานผึ้ง Indicator archipelagicus หายาก

นกคอพันและนกหัวขวาน

[แก้]
อันดับ: Piciformes วงศ์: Picidae

นกคอพันและนกหัวขวานเป็นนกขนาดเล็กถึงกลาง จะงอยปากแหลมเหมือนสิ่ว ขาสั้น หางแข็ง มีลิ้นยาวไว้จับแมลง บางชนิดมีนิ้วเท้ายื่นไปข้างหน้า 2 นิ้ว ข้างหลัง 2 นิ้ว บางชนิดมี 3 นิ้ว ทำรังในโพรงไม้ที่เจาะขึ้นเอง มี 218 ชนิดทั่วโลก พบ 36 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกหัวขวานด่างอกลายจุดเพศผู้
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกคอพัน Jynx torquilla นกอพยพ
นกหัวขวานจิ๋วท้องลาย Picumnus innominatus
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง Sasia abnormis
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว Sasia ochracea
นกหัวขวานแคระอกเทา Hemicircus concretus
นกหัวขวานแคระจุดรูปหัวใจ Hemicircus canente
นกหัวขวานด่างแคระปักษ์ใต้ Yungipicus moluccensis นกพลัดหลง
นกหัวขวานด่างแคระ Yungipicus canicapillus
นกหัวขวานด่างหน้าผากเหลือง Leiopicus mahrattensis หายาก
นกหัวขวานด่างท้องน้ำตาลแดง Dendrocopos hyperythrus
นกหัวขวานด่างอกลายจุด Dendrocopos analis
นกหัวขวานด่างหัวแดงอกลาย Dendrocopos atratus
นกหัวขวานอกแดง Dryobates cathpharius
นกหัวขวานแดง Blythipicus rubiginosus
นกหัวขวานแดงหลังลาย Blythipicus pyrrhotis
นกหัวขวานหลังสีส้ม Reinwardtipicus validus
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง Chrysocolaptes guttacristatus
นกหัวขวานสีตาล Micropternus brachyurus
นกหัวขวานลายคอแถบขาว Meiglyptes tukki
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง Meiglyptes tristis
นกหัวขวานด่างท้องดำ Meiglyptes jugularis
นกหัวขวานหัวเหลือง Gecinulus grantia
นกหัวขวานป่าไผ่ Gecinulus viridis
นกหัวขวานสามนิ้วหลังสีไพล Dinopium rafflesii หายาก
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง Dinopium javanense
นกหัวขวานเล็กหงอนเหลือง Picus chlorolophus
นกหัวขวานปีกแดง Picus puniceus
นกหัวขวานเขียวท้องลาย Picus xanthopygaeus
นกหัวขวานเขียวคอเขียว Picus viridanus
นกหัวขวานเขียวป่าไผ่ Picus vittatus
นกหัวขวานเขียวหัวดำ Picus canus
นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง Picus erythropygius
นกหัวขวานแดงลาย Chrysophlegma miniaceum
นกหัวขวานใหญ่หงอนเหลือง Chrysophlegma flavinucha
นกหัวขวานคอลาย Chrysophlegma mentale
นกหัวขวานใหญ่สีเทา Mulleripicus pulverulentus
นกหัวขวานใหญ่สีดำ Dryocopus javensis


เหยี่ยวปีกแหลม

[แก้]
อันดับ: Falconiformes วงศ์: Falconidae

นกในวงศ์เหยี่ยวปีกแหลมจะเป็นนกล่าเหยื่อเวลากลางวัน ต่างจากนกอินทรีและเหยี่ยวคือจะฆ่าเหยื่อด้วยจะงอยปากไม่ใช่อุ้งเท้า มี 62 ชนิดทั่วโลก พบ 9 ชนิดในประเทศไทย[24]

เหยี่ยวฮอบบี้พันธุ์ยุโรป, นกอพยพ หายาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
เหยี่ยวเล็กตะโพกขาว Polihierax insignis
เหยี่ยวแมลงปอขาแดง Microhierax caerulescens
เหยี่ยวแมลงปอขาดำ Microhierax fringillarius
เหยี่ยวเคสเตรล Falco tinnunculus นกอพยพ
เหยี่ยวตีนแดง Falco amurensis นกอพยพผ่าน หายากมาก
เหยี่ยวเมอร์ลิน Falco columbarius นกพลัดหลง
เหยี่ยวฮอบบี้พันธุ์ยุโรป Falco subbuteo นกอพยพ หายาก
เหยี่ยวฮอบบี้พันธุ์เอเชีย Falco severus
เหยี่ยวเพเรกริน Falco peregrinus นกอพยพ


นกแก้วและนกหก

[แก้]
อันดับ: Psittaciformes วงศ์: Psittaculidae

นกแก้วและนกหกเป็นนกขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ ปากงองุ้ม มีนิ้วเท้า 4 นิ้ว หน้า 2 นิ้ว หลัง 2 นิ้ว มี 335 ชนิดทั่วโลก พบในประเทศไทย 7 ชนิด[11]

นกแขกเต้า
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกหกใหญ่ Psittinus cyanurus หายาก, ลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว
นกแก้วโม่ง Psittacula eupatria หายาก, ลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว
นกแก้วแหวนสีกุหลาบ Psittacula krameri
นกกะลิง Psittacula finschii
นกแก้วหัวแพร Psittacula roseata
นกแขกเต้า Psittacula alexandri
นกหกเล็กปากแดง Loriculus vernalis
นกหกเล็กปากดำ Loriculus galgulus


นกพญาปากกว้างเขียว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Calyptomenidae

นกพญาปากกว้างเป็นนกขนาดเล็ก สีสดใส กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร มี 15 ชนิดทั่วโลก พบ 1 ชนิดในประเทศไทย[20]

นกเขียวปากงุ้ม
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเขียวปากงุ้ม Calyptomena viridis

นกพญาปากกว้าง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Eurylaimidae

นกพญาปากกว้างเป็นนกขนาดเล็ก สีสดใส กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร มี 15 ชนิดทั่วโลก พบ 7 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกพญาปากกว้างหางยาว นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกพญาปากกว้างท้องแดง Cymbirhynchus macrorhynchos
นกพญาปากกว้างหางยาว Psarisomus dalhousiae
นกพญาปากกว้างอกสีเงิน Serilophus lunatus
นกพญาปากกว้างลายเหลือง Eurylaimus javanicus
นกพญาปากกว้างเล็ก Eurylaimus ochromalus
นกพญาปากกว้างสีดำ Corydon sumatranus

นกแต้วแร้ว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Pittidae

นกแต้วแร้วเป็นนกขนาดกลาง หางสั้น ปากอวบ หลายชนิดมีสีสันสดใส มี 32 ชนิดทั่วโลก พบ 13 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกแต้วแล้วอกเขียว
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกแต้วแร้วแดงมลายู Erythropitta granatina หายาก ถูกคุกคามทั่วโลก[28]
นกแต้วแร้วหูยาว Hydrornis phayrei
นกแต้วแร้วใหญ่หัวสีน้ำน้ำตาล Hydrornis oatesi
นกแต้วแร้วใหญ่ท้ายทอยสีฟ้า Hydrornis nipalensis
นกแต้วแร้วใหญ่หัวสีน้ำเงิน Hydrornis soror
นกแต้วแร้วยักษ์ Hydrornis caeruleus หายาก ถูกคุกคามทั่วโลก[29]
นกแต้วแร้วลาย Hydrornis irena
นกแต้วแร้วสีน้ำเงิน Hydrornis cyaneus
นกแต้วแร้วเขียวเขมร Hydrornis elliotii หายาก ถูกคุกคามทั่วโลก[30]
นกแต้วแร้วท้องดำ Hydrornis gurneyi นกถิ่นเดียว
นกแต้วแร้วธรรมดา Pitta moluccensis นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกแต้วแร้วพันธุ์จีน Pitta nympha นกพลัดหลง
นกแต้วแร้วอกเขียว Pitta sordida
นกแต้วแร้วป่าชายเลน Pitta megarhyncha


นกกระจ้อยป่าโกงกาง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Acanthizidae

นกในวงศ์ (Acanthizidae) เป็นนกขนาดเล็กถึงกลาง มีปากเรียวขายาว และหางสั้น นกกระจ้อยป่าโกงกาง เป็นนกเดียวในวงศ์ที่พบใน เอเชียแผ่นดินใหญ่

นกกระจ้อยป่าโกงกาง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระจ้อยป่าโกงกาง Gerygone sulphurea

นกขี้เถ้าและนกพญาไฟ

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Campephagidae

นกขี้เถ้าและนกพญาไฟเป็นนกจับคอนขนาดเล็กถึงกลาง ปกติมีสีเทา-เขา และดำ บางชนิดมีสีสดใส มี 82 ชนิดทั่วโลก พบ 18 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกพญาไฟเล็ก (เพศผู้)
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกพญาไฟเล็กคอดำ Pericrocotus igneus
นกพญาไฟเล็ก Pericrocotus cinnamomeus
นกพญาไฟคอเทา Pericrocotus solaris
นกพญาไฟแม่สะเรียง Pericrocotus brevirostris
นกพญาไฟพันธุ์เหนือ Pericrocotus ethologus
นกพญาไฟใหญ่ Pericrocotus speciosus
นกพญาไฟสีเทา Pericrocotus divaricatus นกอพยพ
นกพญาไฟตะโพกสีน้ำตาล Pericrocotus cantonensis
นกพญาไฟสีกุหลาบ Pericrocotus roseus นกอพยพ
นกขี้เถ้าใหญ่ Coracina macei
นกขี้เถ้าลายขวาง Coracina striata หายาก ลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว
นกขี้เถ้าพันธุ์ชวา Coracina javensis นกพลัดหลง
นกเขนน้อยคิ้วขาว Lalage nigra
นกเฉี่ยวบุ้งใหญ่ Lalage melaschistos นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกเฉี่ยวบุ้งเล็ก Lalage fimbriata
นกเฉี่ยวบุ้งกลาง Lalaga polioptera


นกเสือแมลง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Vireonidae

นกส่วนใหญ่ในวงศ์ Vireonidae พบในโลกใหม่ แต่อย่างไรก็ตามส่วนมากพบ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นกเสือแมลงในสกุล (Pteruthius) และนกภูหงอนท้องขาว ที่เป็นนกชนิดเดียว ในสกุล (Epornis) ที่ คล้ายกับนกในสกุล อื่นในวงศ์นี้เพียงเล็กน้อย

นกเสือแมลงปีกแดง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเสือแมลงปีกแดง Pteruthius aeralatus
นกเสือแมลงคอสีน้ำตาล Pteruthius melanotis
นกเสือแมลงหน้าสีตาล Pteruthius intermedius
นกภูหงอนท้องขาว Erpornis zantholeuca


นกหัวโตป่าโกงกาง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Pachycephalidae

มี 57 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[11]

นกโกงกางหัวโต
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกโกงกางหัวโต Pachycephala cinerea

นกขมิ้น

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Oriolidae

นกขมิ้นเป็นนกจับคอนที่มีสีสันสดใส มี 29 ชนิดทั่วโลก พบในประเทศไทย 6 ชนิด[11]

นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกขมิ้นหัวดำเล็ก Oriolus xanthonotus
นกขมิ้นท้ายทอยดำ Oriolus chinensis นกอพยพ
นกขมิ้นปากเรียว Oriolus tenuirostris นกอพยพ
นกขมิ้นหัวดำใหญ่ Oriolus xanthornus
นกขมิ้นอกแดง Oriolus cruentus นกพลัดหลง
นกขมิ้นแดง Oriolus traillii
นกขมิ้นขาว Oriolus mellianus นกอพยพ หายากใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก


นกแอ่นพง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Artamidae

นกแอ่นพงเป็นนกจับคอนขนนุ่มสีมืด ขณะบินปีกเป็นรูปสามเหลี่ยม มี 11 ชนิดทั่วโลกพบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[11]

นกแอ่นพง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกแอ่นพง Artamus fuscus
นกแอ่นพงท้องขาว Artamus leucorynchus นกพลัดหลง



นกเฉี่ยวดง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Vangidae

นกเฉี่ยวดงมีลักษณะคล้ายนกอีเสือ แต่มักมีสีสันสดใสกว่าที่บริเวณหงอนหรือหัว มี 12 ชนิดทั่วโลก พบ 4 ชนิดในประเทศไทย[31]

นกเฉี่ยวดงหางสีน้ำตาล, นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเฉี่ยวดงหางสีน้ำตาล Tephrodornis virgatus
นกเฉี่ยวดงธรรมดา Tephrodornis pondicerianus
นกเขนน้อยปีกแถบขาว Hemipus picatus
นกเขนน้อยปีกดำ Hemipus hirundinaceus
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง Philentoma pyrhoptera
นกจับแมลงอกแดง Philentoma velata

นกขมิ้นน้อย

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Aegithinidae

นกขมิ้นน้อยเป็นนกที่มีสีสันสดใส สามารถแยกเพศได้จากสีขน โดยเพศผู้จะมีสีสดใสกว่า ปกติเป็นสีเหลืองและเขียว มี 4 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[32]

นกขมิ้นน้อยธรรมดา
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา Aegithina tiphia
นกขมิ้นน้อยสีเขียว Aegithina viridissima
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ Aegithina lafresnayei

นกอีแพรด

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Rhipiduridae

นกอีแพรดเป็นนกกินแมลงขนาดเล็ก มีหางแพนค่อนข้างยาว มี 44 ชนิดทั่วโลก พบ 4 ชนิดในประเทศไทย[33] (นกอีแพรดท้องเหลือง จัดอยู่ในวงศ์นกจับแมลง (Stenostiridae))

นกอีแพรดแถบอกดำ, นกประจำถิ่นพบบ่อยมาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอีแพรดอกลาย Rhipidura perlata หายาก
นกอีแพรดแถบอกดำ Rhipidura javanica
นกอีแพรดคอขาว Rhipidura albicollis
นกอีแพรดคิ้วขาว Rhipidura aureola

นกแซงแซว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Dicruridae

นกแซงแซวส่วนมากมีสีดำหรือเทาเข้ม บางครั้งแต้มด้วยสีเหลือบ มีหางเป็นง่ามยาว ขาสั้น มี 24 ชนิดทั่วโลก พบ 7 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกแซงแซวหางปลา Dicrurus macrocercus นกประจำถิ่น, นกอพยพ
นกแซงแซวสีเทา Dicrurus leucophaeus นกประจำถิ่น, นกอพยพ
นกแซงแซวปากกา Dicrurus annectans นกอพยพ, นกอพยพผ่าน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ Dicrurus aeneus
นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก Dicrurus remifer
นกแซงแซวหงอนขน Dicrurus hottentottus นกประจำถิ่น, นกอพยพ
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ Dicrurus paradiseus


นกแซวสวรรค์

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Monarchidae

นกแซวสวรรค์เป็นนกจับคอนกินแมลงขนาดเล็กถึงกลาง มี 99 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[34]

นกแซวสวรรค์หัวดำ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจับแมลงจุกดำ Hypothymis azurea
นกแซวสวรรค์หางดำ Terpsiphone atrocaudata นกอพยพ นกอพยพผ่าน หายาก
นกแซวสวรรค์หัวดำ Terpsiphone incei
นกแซวสวรรค์ Terpsiphone affinis นกประจำถิ่น นกอพยพ

นกกาน้อยหงอนยาว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Platylophidae

จนถึงปี 2561 สายพันธุ์นกนี้ถูกรวมในวงศ์ (Corvidae) แต่หลักฐานทางพันธุกรรมและสัณฐานวิทยาแยกมันออกไว้ในวงศ์ของตัวมันเอง

นกกาน้อยหงอนยาว
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกาน้อยหงอนยาว Platylophus galericulatus

นกอีเสือ

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Laniidae

นกอีเสือเป็นนกจับคอน ซึ่งนกอีเสือบางชนิดจะจับนกชนิดอื่นหรือสัตว์ขนาดเล็กที่ไม่ได้กินเสียบไว้กับหนาม มีทั้งสิ้น 31 ชนิดทั่วโลก พบ 5 ชนิดในประเทศไทย[31]

นกอีเสือลาย
นกอพยพผ่าน
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอีเสือลาย Lanius tigrinus นกอพยพผ่าน
นกอีเสือสีน้ำตาล Lanius cristatus นกอพยพ
นกอีเสือหลังแดง Lanius collurioides นกอพยพ
นกอีเสือหลังแดงตะโพกเทา Lanius vittatus นกพลัดหลง
นกอีเสือหัวดำ Lanius schach นกอพยพผ่าน
นกอีเสือหลังเทา Lanius tephronotus นกอพยพ


นกกา

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Corvidae

วงศ์ Corvidae ประกอบไปด้วย นกกา, นกเรเวน, นกกาน้อย, นกกาภูเขา, นกสาลิกา และ นกกะลิงเขียด นกกาเป็นนกขนาดกลาง บางชนิดมีพฤติกรรมการเรียนรู้สูง มี 120 ชนิดทั่วโลก พบ 13 ชนิดในประเทศไทย[35]

นกสาลิกาปากดำ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกาน้อยแถบปีกขาว Platysmurus leucopterus
นกปีกลายสก็อต Garrulus glandarius
นกขุนแผน Urocissa erythrorhyncha
นกสาลิกาเขียว Cissa chinensis
นกสาลิกาเขียวหางสั้น Cissa hypoleuca
นกกะลิงเขียด Dendrocitta vagabunda
นกกะลิงเขียดสีเทา Dendrocitta formosae
นกกาแวน Crypsirina temia
นกกะลิงเขียดหางหนาม Temnurus temnurus นกพลัดหลง
นกสาลิกาปากดำ Pica serica นกพลัดหลง
นกสาลิกาปากดำ Pica pica นกพลัดหลง
อีแก Corvus splendens นำเข้ามาโดย มนุษย์
อีกาโคนปากขาว Corvus frugilegus นกพลัดหลง
อีกา Corvus macrorhynchos


นกคอสามสี

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Eupetidae

นกคอสามสีมีถิ่นอาศัยบนพื้นป่าในคาบสมุทรมลายูและเกาะสุมาตรา มีสปีชีส์เดียวในวงศ์ ที่พบในประเทศไทยเป็นชนิดย่อย E. m. macrocerus [36]

นกคอสามสี
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกคอสามสี Eupetes macrocerus

นกจับแมลง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Stenostiridae
นกจับแมลงหัวเทา
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกอีแพรดท้องเหลือง Chelidorhynx hypoxanthus
นกจับแมลงหัวเทา Culicicapa ceylonensis

นกติต

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Paridae

นกติตส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก ปากอ้วนสั้น เป็นนกที่ปรับตัวเก่ง กินเมล็ดพืชและแมลงเป็นอาหาร มี 59 ชนิดทั่วโลก พบ 4 ชนิดในประเทศไทย[37]

นกติ๊ดหลังสีไพล
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกติตหน้าแดง Cephalopyrus flammiceps
นกติตคิ้วเหลือง Sylviparus modestus
นกติตสุลต่าน Melanochlora sultanea
นกติ๊ดหลังเทา Parus cinereus
นกติ๊ดหลังสีไพล Parus minor
นกติตแก้มเหลือง Machlolophus spilonotus


นกจาบฝน

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Alaudidae

นกจาบฝนเป็นนกขนาดเล็กกินแมลและเมล็ดพืชเป็นอาหาร พบ 91 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกจาบฝนเสียงสวรรค์
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจาบฝนเสียงใส Mirafra javanica
นกจาบฝนปีกแดง Mirafra erythrocephala
นกจาบฝนนิ้วสั้น Calandrella brachydactyla
นกจาบฝนนิ้วสั้น Calandrella dukhunensis นกพลัดหลง
นกจาบฝนเสียงสวรรค์ Alauda gulgula


นกยอดข้าวและนกกระจิบหญ้า

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Cisticolidae

นกยอดข้าวและนกกระจิบหญ้าพบในเขตอบอุ่นทางตอนใต้ของโลกเก่า มีขนาดเล็กมาก มีสีน้ำตาลหรือเทา พบในพื้นที่เปิดโล่ง เช่น ทุ่งหญ้า มี 111 ชนิดทั่วโลก พบ 8 ชนิดในประเทศไทย[38]

นกยอดข้าวหางแพนหัวแดง
นกประจำถิ่น พบบ่อย
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระจิบธรรมดา Orthotomus sutorius
นกกระจิบคอดำ Orthotomus atrogularis
นกกระจิบหัวแดง Orthotomus ruficeps
นกกระจิบกระหม่อมแดง Orthotomus sericeus
นกกระจิบหญ้าสีน้ำตาล Prinia polychroa
นกกระจิบหญ้าคิ้วขาว Prinia superciliaris
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง Prinia rufescens
นกกระจิบหญ้าอกเทา Prinia hodgsonii
นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง Prinia flaviventris
นกกระจิบหญ้าสีเรียบ Prinia inornata
นกยอดข้าวหางแพนลาย Cisticola juncidis
นกยอดข้าวหางแพนหัวแดง Cisticola exilis


นกพง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Acrocephalidae

นกในวงศ์นี้ มักจะ ค่อนข้างใหญ่กว่า นกในวงศ์ Sylviidae นกส่วนใหญ่ มีขนด้านบน สีน้ำตาล ด้านล่าง สีเหลือง ถึง สีเบจ พบในป่าเปิด พื้นที่ชุ่มน้ำ หรือ หญ้าสูง มักจะพบเห็น อาศัยอยู่ ใน ยูเรเซียทางใต้ ไป ทาง ตะวันตก และ เขตที่ล้อมรอบ แต่ ก็ค่อนค้างไกลจากมหาสมุทร แปซิฟิก กับนก บางชนิดสายพันธ์ ในแอฟริกา

นกพงใหญ่พันธุ์ญี่ปุ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกพงปากหนา Arundinax aedon นกอพยพ
นกพงขอบหางขาว Iduna caligata นกพลัดหลง
นกพงคิ้วดำ Acrocephalus bistrigiceps นกอพยพ
นกพงนาหิมาลัย Acrocephalus agricola นกอพยพ หายาก
นกพงนาพันธุ์จีน Acrocephalus concinens นกอพยพ
นกพงนาพันธุ์แมนจูเรีย Acrocephalus tangorum นกอพยพ
นกพงนาพันธุ์อินเดีย Acrocephalus dumetorum นกอพยพผ่าน
นกพงปากยาว Acrocephalus orinus หายาก พบซ้ำปี 2006[39]
นกพงใหญ่พันธุ์ญี่ปุ่น Acrocephalus orientalis นกอพยพ
นกพงใหญ่พันธุ์อินเดีย Acrocephalus stentoreus นกอพยพ หายากมาก


นกกระจ้อยอาศัยในหญ้า

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Locustellidae

นกส่งเสียงในกลุ่มกินแมลงขนาดเล็ก พบส่วนใหญ่ใน ยูเรเซีย แอฟริกา และ เขตออสเตรเลีย มักจะมี หาง ยาวแหลม และขน สีน้ำตาลค่อนข้างเข็ม หรือ สีเหลืองเข็มทั่วตัว

นกหางนาค
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกหางนาค Megalurus palustris
Locustella pryeri หายาก
นกพงตั๊กแตนท้ายทอยสีเทา Locustella certhiola นกอพยพ
นกพงตั๊กแตนอกลาย Locustella lanceolata นกอพยพ
นกกระจ้อยสีน้ำตาล Locustella luteoventris นกอพยพ หายาก
นกกระจ้อยพันธุ์จีน Locustella tacsanowskia นกอพยพ หายากมาก
นกกระจ้อยอกเทา Locustella davidi นกอพยพ
นกกระจ้อยอกเทา Locustella thoracica นกพลัดหลง
นกกระจ้อยเขาสูง Locustella mandelli
Locustella idonea


จู๋เต้นจิ๋ว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Pnoepygidae

นกในวงศ์เล็กนี้พบในเขตภูเขา ในเอเชียใต้ และเอเชียอาคเนย์

จู๋เต้นจิ๋ว
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
จู๋เต้นจิ๋ว Pnoepyga pusilla

นกนางแอ่น

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Hirundinidae

นกในวงศ์นี้เป็นนกกลุ่มนกจับคอน มีการปรับตัวเพื่อหาอาหารในอากาศ ในการปรับตัว มันมีลำตัวเรียวเพื่อความคล่องตัว ปีกแหลมยาวและปากสั้น กว้าง ขาถูกออกแบบมา สำหรับเกาะมากกว่าจะใช้เดิน มี 75 ชนิดทั่วโลก พบ 13 ชนิดในประเทศไทย

นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร Pseudochelidon sirintarae สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกนางแอ่นทรายสีน้ำตาล Riparia chinensis
นกนางแอ่นทรายสร้อยคอดำ Riparia riparia นกอพยพ
นกนางแอ่นทรายสีจาง Riparia diluta หายาก
นกนางแอ่นผาสีคล้ำ Ptyonoprogne concolor
นกนางแอ่นบ้าน Hirundo rustica นกอพยพ
นกนางแอ่นหางลวด Hirundo smithii
นกนางแอ่นแปซิฟิค Hirundo tahitica
นกนางแอ่นตะโพกแดง Cecropis daurica นกอพยพ
นกนางแอ่นลาย Cecropis striolata
นกนางแอ่นท้องแดง Cecropis badia
นกนางแอ่นมาตินพันธุ์ไซบีเรีย Delichon urbicum นกอพยพ หายาก
นกนางแอ่นมาตินพันธุ์เอเชียใต้ Delichon dasypus นกอพยพ
นกนางแอ่นมาตินพันธุ์เนปาล Delichon nipalensis พบยากมาก


นกปรอด

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Pycnonotidae

นกปรอดเป็นนกร้องเพลงขนาดกลาง บางชนิดมีสีสดใสด้วยสี เหลือง แดง หรือ ส้ม ที่แก้ม คอ หรือบริเวณตา แต่โดยมากแล้วมีขนสีน้ำตาลหรือดำ บางชนิดมีหงอน มี 130 ชนิดทั่วโลก พบ 36 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกปรอดภูเขา
นกประจำถิ่นแถบที่ราบสูง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกปรอดดำปีกขาว Brachypodius melanoleucos หายาก
นกปรอดหงอนหลังลาย Brachypodius eutilotus
นกปรอดทอง Brachypodius atriceps
นกปรอดเล็กท้องเทา Rubigula erythropthalmos
นกปรอดท้องสีเทา Rubigula cyaniventris
นกปรอดอกลายเกล็ด Rubigula squamata
นกปรอดเหลืองหัวจุก Rubigula flaviventris
นกปรอดหงอนปากหนา Spizixos canifrons
นกปรอดแม่ทะ Pycnonotus zeylanicus หายาก ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกปรอดลาย Pycnonotus striatus
นกปรอดก้นแดง Pycnonotus cafer นกพลัดหลง
นกปรอดหัวโขน Pycnonotus jocosus
นกปรอดหัวโขนก้นเหลือง Pycnonotus xanthorrhous
นกปรอดจีน Pycnonotus sinensis
นกปรอดหัวสีเขม่า Pycnonotus aurigaster
นกปรอดคอลาย Pycnonotus finlaysoni
นกปรอดหัวตาขาว Pycnonotus flavescens
นกปรอดหน้านวล Pycnonotus goiavier
นกปรอดสีไพลใหญ่ Pycnonotus plumosus
นกปรอดสวน Pycnonotus blanfordi
นกปรอดสวน Pycnonotus conradi
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว Pycnonotus simplex
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง Pycnonotus brunneus
นกปรอดหลังฟู Tricholestes criniger
นกปรอดสีคล้ำใต้คอเหลือง Alophoixus finschii
นกปรอดโอ่งหน้าผากเทา Alophoixus flaveolus
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ Alophoixus pallidus
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล Alophoixus ochraceus
นกปรอดโอ่งแก้มเทา Alophoixus bres
นกปรอดโอ่งไร้หงอน Alophoixus phaeocephalus
นกปรอดหงอนตาขาว Iole crypta
นกปรอดเล็กตาขาว Iole propinqua
นกปรอดเล็กสีไพลตาแดง Iole virescens
นกปรอดดำ Hypsipetes leucocephalus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกปรอดเทาหัวขาว Hypsipetes thompsoni
นกปรอดสีขี้เถ้า Hemixos flavala
นกปรอดสีขี้เถ้า Hemixos cinereus
นกปรอดสีน้ำตาลแดง Hemixos castanonotus นกพลัดหลง
นกปรอดภูเขา Ixos mcclellandii
นกปรอดหลังเขียวอกลาย Ixos malaccensis


นกกระจิ๊ด

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Phylloscopidae

นกในวงศ์นี้เป็น นกกินแมลงขนาดเล็ก นกส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในยูเรเซียไปถึงในวอลเลเซีย และแอฟริกา ด้วยสายพันธ์มีขนาดหลากหลาย ขนด้านบนมักจะสีเขียว และด้านล่างสีเหลือง หรือสีเข็มทึมกว่า เช่นสีเขียวอมเทา และสีน้ำตาลอมเทา

นกกระจิ๊ดเขียวคล้ำ
นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระจิ๊ดคอสีเทา Phylloscopus maculipennis นกอพยพ
นกกระจิ๊ดแถบปีกสีส้ม Phylloscopus pulcher นกอพยพ
นกกระจิ๊ดธรรมดา Phylloscopus inornatus นกอพยพ
นกกระจิ๊ดพันธุ์หิมาลัย Phylloscopus humei นกอพยพ
นกกระจิ๊ดพันธุ์จีน Phylloscopus yunnanensis นกอพยพ
นกกระจิ๊ดตะโพกเหลืองคิ้วเหลือง Phylloscopus proregulus นกอพยพ
นกกระจิ๊ดตะโพกเหลืองเสฉวน Phylloscopus forresti
นกกระจิ๊ดปากหนา Phylloscopus schwarzi นกอพยพ
นกกระจิ๊ดอกลายเหลือง Phylloscopus armandii นกอพยพ
Phylloscopus affinis นกอพยพ
นกกระจิ๊ดสีคล้ำ Phylloscopus fuscatus นกอพยพ
นกกระจิ๊ดท้องสีน้ำตาล Phylloscopus subaffinis นกอพยพ
นกกระจิ๊ดชิฟแชฟ Phylloscopus collybita นกพลัดหลง
นกกระจิ๊ดหัวมงกุฎ Phylloscopus coronatus นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกกระจ้อยแก้มเทา Phylloscopus poliogenys
Phylloscopus burkii
นกแว่นตาเหลืองหัวเทา Phylloscopus tephrocephalus นกอพยพ หายาก
Phylloscopus whistleri
นกแว่นตาเหลืองปีกแถบกว้าง Phylloscopus valentini นกอพยพ
นกกระจ้อยวงตาสีทองพันธุ์จีน* Phylloscopus omeiensis นกอพยพ
นกแว่นตาเหลืองคิ้วสั้น Phylloscopus soror นกอพยพ
นกกระจิ๊ดเขียวคล้ำ Phylloscopus trochiloides นกอพยพ
นกกระจิ๊ดเขียวปีกสองแถบ Phylloscopus plumbeitarsus นกอพยพ
Phylloscopus magnirostris
นกกระจิ๊ดขาสีเนื้อ Phylloscopus tenellipes นกอพยพ
นกกระจิ๊ดซาคาลิน Phylloscopus borealoides
นกกระจิ๊ดพันธุ์ญี่ปุ่น Phylloscopus xanthodryas นกพลัดหลง
นกกระจิ๊ดขั้วโลกเหนือ Phylloscopus borealis นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกกระจิ๊ดคัมชัตกา Phylloscopus examinandus
นกกระจ้อยกระหม่อมแดง Phylloscopus castaniceps
นกกระจิ๊ดคิ้วดำท้องขาว Phylloscopus cantator นกอพยพ หายาก
นกกระจิ๊ดคิ้วดำท้องเหลือง Phylloscopus ricketti นกอพยพ
นกกระจิ๊ดหางขาวใหญ่ Phylloscopus reguloides นกอพยพ
นกกระจิ๊ดหางขาวใหญ่ Phylloscopus claudiae นกอพยพ
นกกระจิ๊ดหางขาวตะวันออก Phylloscopus goodsoni นกพลัดหลง
นกกระจิ๊ดหางขาวเล็ก Phylloscopus intensior
นกกระจิ๊ดหางขาวท้องเหลือง Phylloscopus ogilviegranti
นกกระจิ๊ดภูเขา Phylloscopus trivirgatus นกพลัดหลง


นกกระจ้อย (อาศัยในพุ่มไม้)

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Scotocercidae

นกในวงศ์นี้พบในทั่วแอฟริกา เอเชีย และพอลินีเชีย อนุกรมวิธานของนก บ้างชนิดอาจเปลี่ยนแปลงได้ และผู้เชี่ยวชาญบางคนวางในวงศ์อื่น

นกจุนจู๋หัวสีตาล
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระจ้อยสีไพล Urosphena pallidipes
นกกระจ้อยหัวลาย Urosphena squameiceps นกอพยพ
นกจุนจู๋ท้องเทา Tesia cyaniventer หายากมาก
นกจุนจู๋หัวเหลือง Tesia olivea
นกกระจ้อยใหญ่ Cettia major นกอพยพ หายากมาก
นกจุนจู๋หัวสีตาล Cettia castaneocoronata
นกกระจ้อยคอขาว Abroscopus superciliaris
นกกระจ้อยคอดำ Abroscopus albogularis หายาก
นกกระจิบภูเขา Phyllergates cucullatus
นกกระจ้อยนักร้อง Horornis canturians
นกกระจ้อยเหลืองไพล Horornis vulcanius
นกกระจ้อยเหลืองไพล Horornis flavolivaceus นกอพยพ


นกติ๊ดหางยาว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Aegithalidae

นกติ๊ดหางยาวเป็นนกจับคอนขนาดเล็กมีหางยาว กินแมลงและเมล็ดพืชเป็นอาหาร มี 9 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[37]

นกติ๊ดหัวแดง, พบบ่อยบริเวณภูเขาภาคเหนือ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกติ๊ดหัวแดง Aegithalos concinnus

นกคอขาวน้อยและนกปากนกแก้ว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Sylviidae

นกในวงศ์นี้ Sylviidae เป็นกลุ่มของนกกินแมลงขนาดเล็ก ส่วนใหญ่แป็นสายพันธุ์จากการผสมพันธุ์ เป็นชื่อสามัญอื่น (Old World warblers) อาศัยอย่ในยุโรป เอเชีย แลมีบ้างในแอฟริกา ส่วนใหญ่มีรูปร่างหน้าตาไม่เด่น แต่มีหลายเสียงร้องที่มีลักษณะเฉพาะ

นกกินแมลงตาเหลือง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกคอขาวน้อย Sylvia curruco นกอพยพ หายาก
นกกินแมลงตาเหลือง Chrysomma sinense
นกปากนกแก้วหัวเทา Psittiparus gularis
นกปากนกแก้วหัวสีส้ม Psittiparus bakeri นกพลัดหลง
นกปากนกแก้วอกลาย Paradoxornis guttaticollis
นกปากนกแก้วคิ้วดำ Chleuasicus atrosuperciliaris หายาก
นกปากนกแก้วหูเทา Suthola nipalensis
นกปากนกแก้วหางสั้น Neosuthora davidiana' หายาก

นกแว่นตาขาว

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Zosteropidae

นกแว่นตาขาวส่วนมากมีสีจืดชืด โดยทั่วไปมีขนสีเขียวมะกอกในส่วนบน แต่บางชนิดมีสีขาวหรือเหลืองสดบริเวณท้อง อก หรือส่วนล่าง และ หลายชนิดมีปีกสีน้ำตาลอมเหลือง หลายชนิดมีวงแหวนสีขาวรอบดวงตา มี 96 ชนิดทั่วโลก พบ 4 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกแว่นตาขาวหลังเขียว, นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกภูหงอนหัวน้ำตาลแดง Yuhina castaniceps
นกภูหงอนท้องขาว Yuhina torqueola
นกภูหงอนวงตาขาว Yuhina flavicollis
นกภูหงอนพม่า Yuhina humilis
นกแว่นตาขาวสีข้างแดง Zosterops erythropleurus นกอพยพ
นกแว่นตาขาวสีทอง Zosterops palpebrosus
นกแว่นตาขาวสีเหลืองปักษ์ใต้ Zosterops auriventer
นกแว่นตาขาวหลังเขียว Zosterops simplex


นกกินแมลงและนกกะราง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Timaliidae

นกในวงศ์นี้ เป็นนกหลากหลายทางขนาดและสี แต่จะมีขนที่มีลักษณะเป็นปุยนุ่ม

นกกินแมลงกระหม่อมแดง
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกินแมลงกระหม่อมแดง Timalia pileata
นกกินแมลงอกเหลือง Mixornis gularis
นกกินแมลงหลังฟู Macronous ptilosus หายาก มีแนวโน้มลดลง
นกกินแมลงหัวสีทอง Cyanoderma chrysaeum
นกกินแมลงปีกแดง Cyanoderma erythropterum
นกกินแมลงหน้าผากน้ำตาล (หิมาลัย) Cyanoderma ambiguum
นกกินแมลงหน้าผากน้ำตาล Cyanoderma rufifrons
นกจู๋เต้น หางยาว Spelaeornis chocolatinus นกพลัดหลง
นกจู๋เต้นหางยาว Spelaeornis reptatus
นกระวังไพรปากแดงยาว Pomatorhinus ochraceiceps
นกระวังไพรปากแดงสั้น Pomatorhinus ferruginosus หายาก
นกระวังไพรปากเหลือง Pomatorhinus schisticeps
นกระวังไพรหลังแดง Pomatorhinus montanus
นกระวังไพรปากยาว Megapomatorhinus hypoleucos
นกระวังไพรแก้มสีน้ำตาล Megapomatorhinus erythrogenys
นกกินแมลงคอดำ Stachyris nigricollis
นกกินแมลงตะโพกแดง Stachyris maculata
นกกินแมลงคอเทา Stachyris nigriceps
นกกินแมลงตาขาว Stachyris poliocephala
นกกินแมลงหูขาว Stachyris leucotis หายาก
นกกินแมลงคอลาย Stachyris striolata


นกมุ่นรกและนกจาบดิน

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Pellorneidae

นกมุ่นรกและนกจาบดิน เป็นนกที่มีขนาดเล็กถึงกลางและสีที่ค่อนข้างหลากหลายโดยมากในโทนสีน้ำตาลเทา มักมีขนนกที่พองฟูได้ และมักมีเสียงร้องที่ไพเราะ โดยทั่วไปนกในสกุลนี้ อาศัยในพื้นที่เปิดโล่งและทุ่งหญ้า (ยกเว้นนกในสกุล Illadopsis ที่พบในป่าและเฉพาะในทวีปแอฟริกา)

นกกินแมลงป่าชายเลน
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล Malacopteron magnirostre
นกกินแมลงหัวสีคล้ำ Malacopteron affine หายาก
นกกินแมลงหัวแดงเล็ก Malacopteron cinereum
นกกินแมลงหัวแดงใหญ่ Malacopteron magnum
นกเสือแมลงหัวขาว Gampsorhynchus torquatus
นกมุ่นรกหัวน้ำตาลแดง Schoeniparus castaneceps
นกมุ่นรกคอแดง Schoeniparus rufogularis หายาก
นกมุ่นรกหน้าผากสีน้ำตาล Schoeniparus dubius นกพลัดหลง
นกจาบดินอกลาย Pellorneum ruficeps
นกจาบดินหัวดำ Pellorneum capistratum
นกจาบดินสีน้ำตาลคอลาย Pellorneum albiventre
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล Pellorneum tickelli
นกกินแมลงป่าหางสั้น Pellorneum malaccense
นกกินแมลงป่าชายเลน Pellorneum rostratum
นกกินแมลงสีน้ำตาลแดง Pellorneum bicolor
นกจู๋เต้นลาย Kenopia striata หายาก
นกจู๋เต้นคิ้วยาว Napothera epilepidota
นกกินแมลงป่าฝน Turdinus abbotti
นกกินแมลงปากหนา Turdinus sepiarius
นกจู๋เต้นใหญ่ Turdinus macrodactylus
นกจู๋เต้นเขาหินปูน Turdinus crispifrons
นกจู๋เต้นหางสั้น Turdinus brevicaudatus
นกพงหญ้า Graminicola striatus สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้วในประเทศไทย


นกจุนจู๋ท้อง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Leiothrichidae

นกในวงศ์นี้เป็นนกหลากหลายขนาดและสี แม้ว่านกในสกุล (Turdoides) ส่วนมากจะมีขนสีน้ำตาล และสีดอกเลา นกในวงศ์พบในเอเชีย อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นกศิวะหางสีตาล
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล Alcippe brunneicauda
นกมุ่นรกตาขาว Alcippe poioicephala
นกมุ่นรกตาแดง Alcippe fratercula
นกมุ่นรกภูเขา Alcippe peracensis
นกมุ่นรกคิ้วดำ Alcippe grotei
นกขัติยา Cutia nipalensis หายาก
นกกะรางหัวหงอก Garrulax leucolophus
นกกะรางสร้อยคอเล็ก Garrulax monileger
นกกะรางสีดำ Garrulax lugubris หายาก
Garrulax ferrarius
นกกะรางอกสีน้ำตาลไหม้ Garrulax strepitans
นกกะรางอกลาย Garrulax merulinus หายากมาก
นกกะรางสร้อยคอใหญ่ Ianthocincla pectoralis
นกกะรางคอดำ Ianthocincla chinensis
นกกะรางวงตาขาว Ianthocincla mitrata หายาก
นกกะรางคิ้วขาว Ianthocincla sannio
นกกะรางหัวแดง Trochalopteron melanostigma
นกกะรางหัวแดงมลายู* Trochalopteron peninsulae
นกกะรางหางแดง Trochalopteron milnei หายาก
นกหางรำดำ Heterophasia melanoleuca
นกหางรำหางยาว Heterophasia picaoides
นกกะรองทองแก้มขาว Leiothrix argentauris
นกหางรำหลังแดง Minla annectens
นกกะรางแก้มแดง Liocichla ripponi
นกปีกลายตาขาว Actinodura ramsayi
นกศิวะปีกสีฟ้า Actinodura cyanouroptera
นกศิวะหางสีตาล Actinodura strigula


นกไต่ผา

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Tichodromidae

นกนี้เป็นนกชนิดเดียวในวงศ์ อาศัยอยู่ภูเขาสูง ในยูเรเซีย จากยุโรปใต้ใปจนถึงประเทศจีน

นกไต่ผา
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกไต่ผา Tichodroma muraria นกพลัดหลง

นกไต่ไม้

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Sittidae

นกไต่ไม้เป็นนกขนาดเล็ก มีหัวขนาดใหญ่ หางสั้น ปากและขาแข็งแรง มี 24 ชนิดทั่วโลก พบ 6 ชนิดในประเทศไทย[37]

นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกไต่ไม้ท้องสีเม็ดมะขาม Sitta cinnamoventris
นกไต่ไม้ท้องสีส้ม Sitta neglecta
นกไต่ไม้โคนหางสีน้ำตาล Sitta nagaensis
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่ Sitta frontalis
นกไต่ไม้สีน้ำเงิน Sitta azurea นกพลัดหลง
นกไต่ไม้ใหญ่ Sitta magna ใกล้สูญพันธุ์ทั่วโลก
นกไต่ไม้สีสวย Sitta formosa


นกเปลือกไม้

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Certhiidae

นกเปลือกไม้เป็นนกป่าขนาดเล็ก ด้านบนมีสีน้ำตาลและด้านล่างสีขาว มีปากบางโค้งลง ใช้สำหรับจับแมลงออกจากเปลือกไม้ มีขนหางแข็งคล้ายนกหัวขวาน มี 6 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[37]

นกเปลือกไม้
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเปลือกไม้ Certhia manipurensis

นกจู๋เต้นลายจุด

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Elachuridae

นกนี้เป็นนกชนิดเดียวในวงศ์ อาศัยอยู่ป่าพงในทั่วไปของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นกจู๋เต้นลายจุด
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจู๋เต้นลายจุด Elachura formosa

นกมุดน้ำ

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Cinclidae

นกมุดน้ำมีถิ่นอาศัยใกล้แหล่งน้ำ มี 5 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[40]

นกมุดน้ำ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกมุดน้ำ Cinclus pallasii หายาก

นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Sturnidae

นกเอี้ยงเป็นนกเกาะคอนขนาดเล็กถึงกลาง อยู่กันเป็นสังคม ชอบที่โล่งเปิดกว้าง กินแมลงและผลไม้ ขนมีสีเข้ม มี 125 ชนิดทั่วโลก พบ 19 ชนิดในประเทศไทย[41]

นกเอี้ยงสาริกา
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้ Aplonis panayensis
นกเอี้ยงหัวสีทอง Ampeliceps coronatus
นกขุนทอง Gracula religiosa
นกกิ้งโครงพันธุ์ยุโรป Sturnus vulgaris นกอพยพ หายาก
นกกิ้งโครงสีกุหลาบ Pastor roseus นกอพยพ หายากมาก
นกกิ้งโครงแกลบหลังม่วงดำ Agropsar sturninus นกประจำถิ่น, นกอพยพผ่าน
นกกิ้งโครงแกลบแก้มสีน้ำตาลแดง Agropsar philippensis นกพลัดหลง
นกกิ้งโครงคอดำ Gracupica nigricollis
นกเอี้ยงด่าง Gracupica contra
นกกิ้งโครงแกลบปีกขาว Sturnia sinensis นกอพยพ
นกเอี้ยงพราหมณ์ Sturnia pagodarum นกพลัดหลง
นกกิ้งโครงแกลบหัวเทา Sturnia malabarica นกประจำถิ่น, นกอพยพ
นกกื้งโครงปากแดง Spodiopsar sericeus นกพลัดหลง
นกกิ้งโครงแก้มขาว Spodiopsar cineraceus นกพลัดหลง
นกเอี้ยงสาริกา Acridotheres tristis กำลังขยายถิ่นจากการนำเข้ามา[10]
นกกิ้งโครงหัวสีนวล Acridotheres burmannicus
นกเอี้ยงควาย Acridotheres fuscus
นกเอี้ยงชวา Acridotheres javanicus ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
นกเอี้ยงหงอน Acridotheres grandis
นกเอี้ยงก้นลาย Acridotheres cristatellus
นกกิ้งโครงปีกลายจุด Saroglossa spilopterus นกอพยพ หายาก


นกเดินดง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Turdidae

นกเดินดงเป็นนกขนาดเล็กถึงกลาง กินแมลงเป็นอาหาร บางครั้งกินทั้งพืชและสัตว์ หากินบนพื้นดิน มี 335 ชนิดทั่วโลก พบ 21 ชนิดในประเทศไทย[42]

นกเอี้ยงถ้ำ
นกประจำถิ่น นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเดินดงหลังสีไพล Zoothera dixoni นกอพยพ
นกเดินดงหิมาลัย Zoothera salimalii นกอพยพ
นกเดินดงเล็กปากยาว Zoothera marginata
นกเดินดงลายเสือใหญ่ Zoothera aurea
นกเดินดงลายเสือ Zoothera dauma นกอพยพ, นกประจำถิ่น
นกปีกแพรสีม่วง Cochoa purpurea หายาก
นกปีกแพรสีเขียว Cochoa viridis
นกเดินดงสีเทาดำ Geokichla sibirica นกอพยพ
นกเดินดงหัวน้ำตาลแดง Geokichla interpres หายาก
นกเดินดงหัวสีส้ม Geokichla citrina นกอพยพ
นกเดินดงสีดำ Turdus mandarinus
นกเดินดงปีกเทา Turdus boulboul นกอพยพ หายาก
นกเดินดงพันธุ์ญี่ปุ่น Turdus cardis นกพลัดหลง
นกเดินดงอกดำ Turdus dissimilis นกอพยพ หายาก
นกเดินดงอกเทา Turdus feae นกอพยพ หายาก
นกเดินดงสีคล้ำ Turdus obscurus นกอพยพ
นกเดินดงสีน้ำตาลแดง Turdus rubrocanus นกอพยพ หายาก
นกเดินดงคอดำ Turdus atrogularis นกอพยพ หายาก
นกเดินดงคอสีเข้ม Turdus ruficollis นกอพยพ หายากมาก
นกเดินดงอกลายแดง Turdus eunomus
นกเดินดงอกลาย Turdus naumanni นกพลัดหลง


นกจับแมลงและนกเขน

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Muscicapidae

นกจับแมลงและนกเขนเป็นนกจับคอนขนาดเล็ก ส่วนมากกินแมลงเป็นอาหาร มี 274 ชนิดทั่วโลก พบในประเทศไทย 69 ชนิด[11]

นกเขนหัวขาวท้ายแดง
นกประจำถิ่นในภูเขาภาคเหนือ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจับแมลงสีคล้ำ Muscicapa sibirica นกอพยพ
นกจับแมลงสีน้ำตาลแดง Muscicapa ferruginea นกอพยพ นกอพยพผ่าน
นกจับแมลงสีน้ำตาล Muscicapa dauurica นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกจับแมลงอกสีน้ำตาล Muscicapa muttui หายากมาก
นกจับแมลงสีน้ำตาลท้องลาย Muscicapa williamsoni นกประจำถิ่น นกอพยพผ่าน
นกกางเขนบ้าน Copsychus saularis
นกกางเขนดงหางแดง Copsychus pyrropygus หายาก
นกกางเขนดง Copsychus malabaricus
นกจับแมลงสร้อยคอขาว Anthipes monileger
นกจับแมลงคอขาวหน้าแดง Anthipes solitaris
นกจับแมลงสีคล้ำหางแถบขาว Cyornis concretus หายาก
นกจับแมลงอกสีฟ้า Cyornis hainanus
นกจับแมลงสีฟ้าอ่อน Cyornis unicolor
นกจับแมลงคอสีน้ำเงินเข้ม Cyornis rubeculoides นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกจับแมลงพันธุ์จีน Cyornis glaucicomans
นกจับแมลงปากยาว Cyornis magnirostris นกอพยพ
นกจับแมลงคอน้ำตาลแดง Cyornis banyumas
นกจับแมลงป่าพรุ Cyornis turcosus
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว Cyornis sumatrensis
นกจับแมลงป่าโกงกาง Cyornis rufigastra
นกจับแมลงอกสีน้ำตาลอ่อน Cyornis brunneatus นกอพยพผ่าน หายาก
นกจับแมลงอกเทา Cyornis umbratilis หายาก
นกจับแมลงอกสีเนื้อ Cyornis olivaceus
นกนิลตวาใหญ่ Niltava grandis
นกนิลตวาเล็ก Niltava macgrigoriae
นกนิลตวาท้องสีส้มพันธุ์จีน Niltava davidi นกอพยพ หายาก
นกนิลตวาท้องสีส้มคอดำ Niltava sundara นกอพยพ
นกนิลตวาท้องสีส้ม Niltava vivida นกอพยพ
นกจับแมลงสีฟ้าท้องขาว Cyanoptila cyanomelana นกอพยพผ่าน
นกจับแมลงสีฟ้าท้องขาว Cyanoptila cumatilis นกอพยพผ่าน
นกจับแมลงสีฟ้า Eumyias thalassinus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกปีกสั้นเล็ก Brachypteryx leucophrys
นกปีกสั้นสีน้ำเงิน Brachypteryx cruralis
นกเขนน้อยหางแดง Larvivora sibilans นกอพยพ หายาก
นกเขนน้อยพันธุ์ญี่ปุ่น Larvivora akahige หายากมาก
นกเขนน้อยไซบีเรีย Larvivora cyane นกอพยพ
นกเขนแปลง Luscinia phaenicuroides นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกคอมรกต Luscinia svecica นกอพยพ
นกเอี้ยงถ้ำ Myophonus caeruleus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกกางเขนน้ำหัวขาว Enicurus leschenaulti
นกกางเขนน้ำหลังแดง Enicurus ruficapillus
นกกางเขนน้ำหลังดำ Enicurus immaculatus
นกกางเขนน้ำหลังเทา Enicurus schistaceus
นกเขนน้อยอกเพลิง Calliope pectardens นกพลัดหลง
นกเขนน้อยอกดำ Calliope obscura นกพลัดหลง
นกคอทับทิม Calliope calliope นกอพยพ
นกคอทับทิมอกดำ Calliope tschebaiewi นกพลัดหลง
นกเขนสีฟ้าหางขาว Myiomela leucura
นกเขนน้ำเงิน Cinclidium frontale สถานะไม่แน่นอน
นกเขนน้อยข้างสีส้ม Tarsiger cyanurus นกอพยพ
นกเขนน้อยพันธุ์หิมาลัย Tarsiger rufilatus นกอพยพ
นกเขนน้อยสีทอง Tarsiger chrysaeus นกอพยพ หายาก
นกจับแมลงตะโพกเหลือง Ficedula zanthopygia นกอพยพผ่าน
นกจับแมลงหลังสีเขียว Ficedula elisae นกอพยพ
นกจับแมลงคิ้วเหลือง Ficedula narcissina
นกจับแมลงดำอกสีส้ม Ficedula mugimaki นกอพยพ
นกจับแมลงหลังสีเทา Ficedula erithacus นกอพยพ
นกจับแมลงหน้าดำคอขาว Ficedula tricolor นกอพยพ
นกจับแมลงหน้าผากขาว Ficedula hyperythra
นกจับแมลงสีฟ้าจิ๋ว Ficedula hodgsoni นกอพยพ หายาก
นกจับแมลงแถบคอสีส้ม Ficedula strophiata นกอพยพ
นกจับแมลงหัวสีฟ้า Ficedula sapphira นกอพยพ
นกจับแมลงเล็กขาวดำ Ficedula westermanni
นกจับแมลงสีคราม Ficedula superciliaris นกอพยพ
นกจับแมลงคอแดง Ficedula albicilla นกอพยพ
นกจับแมลงคอแดง Ficedula parva นกพลัดหลง หายาก
นกจับแมลงอกสีส้ม Ficedula dumetoria
นกเขนสีฟ้าท้ายสีน้ำตาล Phoenicurus frontalis นกอพยพ หายาก
นกเขนเทาหางแดง Phoenicurus fuliginosus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกเขนหัวขาวท้ายแดง Phoenicurus leucocephalus นกอพยพ
นกเขนสีดำ Phoenicurus ochruros นกพลัดหลง
นกเขนท้องแดง Phoenicurus auroreus นกอพยพ
นกกระเบื้องท้องแดง Monticola rufiventris นกอพยพ
นกกระเบื้องคอขาว Monticola gularis นกอพยพ
นกกระเบื้องผา Monticola solitarius นกอพยพ
นกยอดหญ้าหัวดำ Saxicola maurus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกยอดหญ้าสีดำ Saxicola caprata
นกยอดหญ้าหลังดำ Saxicola jerdoni หายาก
นกยอดหญ้าสีเทา Saxicola ferreus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกเขนทะเลทราย Oenanthe isabellina นกพลัดหลง
นกเขนทะเลทรายคอดำ Oenanthe deserti นกพลัดหลง


นกกาฝาก

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Dicaeidae

นกกาฝากเป็นนกขนาดเล็ก ตัวกลม มีสีสันสดใส หางสั้น ปากสั้นหนา และลิ้นเป็นหลอด มี 44 ชนิดทั่วโลก พบ 10 ชนิดในประเทศไทย[43]

นกสีชมพูสวน (เพศผู้)
นกประจำถิ่น หายาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกาฝากอกเหลือง Prionochilus maculatus
นกกาฝากอกสีเลือดหมู Prionochilus percussus
นกกาฝากอกแดง Prionochilus thoracicus
นกกาฝากปากหนา Dicaeum agile
นกกาฝากก้นเหลือง Dicaeum chrysorrheum
นกกาฝากท้องเหลือง Dicaeum melanoxanthum อาจเป็นนกประจำถิ่น
นกกาฝากท้องสีส้ม Dicaeum trigonostigma
นกกาฝากสีเรียบ Dicaeum minullum
นกกาฝากอกเพลิง Dicaeum ignipectus
นกสีชมพูสวน Dicaeum cruentatum นกประจำถิ่น หายาก


นกกินปลีและนกปลีกล้วย

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Nectariniidae

นกกินปลีและนกปลีกล้วยเป็นนกจับคอนขนาดเล็กมาก ส่วนมากกินน้ำต้อยเป็นอาหาร แม้บางครั้งจะกินแมลงบ้างโดยเฉพาะนำไปเลี้ยงลูกอ่อน มี 131 ชนิดทั่วโลก พบ 22 ชนิดในประเทศไทย[43]

นกกินปลีคอสีน้ำตาล
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกินปลีแก้มสีทับทิม Chalcoparia singalensis
นกกินปลีสีเรียบ Anthreptes simplex
นกกินปลีคอสีน้ำตาล Anthreptes malacensis
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง Anthreptes rhodolaemus หายาก
นกกินปลีคอสีม่วง Leptocoma brasiliana
นกกินปลีคอสีทองแดง Leptocoma calcostetha
นกกินปลีดำม่วง Cinnyris asiaticus
นกกินปลีอกเหลือง Cinnyris jugularis
นกกินปลีแดงหัวไพลิน Aethopyga ignicauda
นกกินปลีหางยาวคอดำ Aethopyga saturata
นกกินปลีหางยาวคอสีฟ้า Aethopyga gouldiae นกอพยพ
นกกินปลีหางยาวเขียว Aethopyga nipalensis นกประจำถิ่นในภูเขา
นกกินปลีแดง Aethopyga temminckii หายาก
นกกินปลีคอแดง Aethopyga siparaja
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน Kurochkinegramma hypogrammicum
นกปลีกล้วยปากหนา Arachnothera crassirostris
นกปลีกล้วยปากยาว Arachnothera robusta หายาก
นกปลีกล้วยเล็ก Arachnothera longirostra
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก Arachnothera chrysogenys
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่ Arachnothera flavigaster
นกปลีกล้วยลาย Arachnothera magna
นกปลีกล้วยท้องเทา Arachnothera modesta


นกเขียวคราม

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Irenidae

นกเขียวครามเพศผู้มีสีน้ำเงินเข้ม เพศเมียมีสีเขียวมัวๆ มี 2 ชนิดทั่วโลก พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย[44]

นกเขียวคราม
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเขียวคราม Irena puella

นกเขียวก้านตอง

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Chloropseidae

นกเขียวก้านตองเป็นนกขนาดเล็ก เพศผู้มีขนสีสดใส ปกติเป็นสีเขียวและเหลือง มี 8 ชนิดทั่วโลก พบ 5 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกเขียวก้านตองท้องสีส้ม
นกประจำถิ่น
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเขียวก้านตองใหญ่ Chloropsis sonnerati
นกเขียวก้านตองเล็ก Chloropsis cyanopogon
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า Chloropsis cochinchinensis
นกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง Chloropsis aurifrons
นกเขียวก้านตองท้องสีส้ม Chloropsis hardwickii


นกจาบ

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Ploceidae

นกจาบเป็นนกเกาะคอนขนาดเล็กที่เป็นญาติกับนกจาบปีกอ่อน ปากทรงกรวยกลม กินเมล็ดพืชเป็นอาหาร ในหลายๆชนิด เพศผู้มักมีสีสันสดใส เช่น แดง หรือเหลือง และ ดำ บางชนิดจะเปลี่ยนสีเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ มี 116 ชนิดทั่วโลก พบ 3 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกจาบธรรมดา
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจาบอกลาย Ploceus manyar
นกจาบธรรมดา Ploceus philippinus
นกจาบทอง Ploceus hypoxanthus

นกกระติ๊ด

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Estrildidae

นกกระติ๊ดเป็นนกเกาะคอนขนาดเล็กของโลกเก่าเขตร้อนและประเทศออสเตรเลีย ชอบอยู่เป็นฝูง มีปากสั้นหนาแต่แหลม กินเมล็ดพืชเป็นอาหาร มีโครงสร้างและพฤติกรรมคล้ายกัน แต่มีสีและรูปแบบขนต่างกันไป มี 141 ชนิดทั่วโลก ในประเทศไทยพบ 8 ชนิด[45]

นกกระติ๊ดแดง
นกประจำถิ่นพบไม่บ่อยนัก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระติ๊ดแดง Amandava amandava
นกกระติ๊ดเขียว Erythrura prasina
นกกระติ๊ดตะโพกขาว Lonchura striata
นกกระติ๊ดขี้หมู Lonchura punctulata
นกกระติ๊ดท้องขาว Lonchura leucogastra
นกกระติ๊ดสีอิฐ Lonchura atricapilla
นกกระติ๊ดหัวขาว Lonchura maja
นกกระจอกชวา Lonchura oryzivora ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น[10]


นกกระจอก

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Passeridae

นกกระจอกเป็นนกเกาะคอนขนาดเล็ก ตัวกลม มีสีน้ำตาลหรือเทา หางสั้น และจะงอยปากที่หนา กินเมล็ดพืชและแมลงขนาดเล็กเป็นอาหาร มี 35 ชนิดทั่วโลก พบ 4 ชนิดในประเทศไทย[45]

นกกระจอกป่าท้องเหลืองเพศผู้ เป็นนกอพยพหายาก
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกกระจอกใหญ่ Passer domesticus กำลังขยายถิ่น[3]
นกกระจอกป่าท้องเหลือง Passer cinnamomeus นกอพยพ หายาก
นกกระจอกตาล Passer flaveolus
นกกระจอกบ้าน Passer montanus


นกเด้าลมและนกเด้าดิน

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Motacillidae

นกเด้าลมและนกเด้าดินเป็นนกจับคอนขนาดเล็ก หางยาว กินแมลงเป็นอาหาร มี 54 ชนิดทั่วโลก พบ 13 ชนิดในประเทศไทย[11]

นกอุ้มบาตรชนิดย่อย M. a. leucopsis
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกเด้าลมดง Dendronanthus indicus นกอพยพ
นกเด้าลมหลังเทา Motacilla cinerea นกอพยพ
นกเด้าลมเหลือง Motacilla flava นกอพยพ
นกเด้าลมเหลือง Motacilla tschutschensis
นกเด้าลมหัวเหลือง Motacilla citreola นกอพยพ
นกเด้าลมแม่น้ำโขง Motacilla samveasnae
นกอุ้มบาตร Motacilla alba นกอพยพ
นกเด้าดินทุ่งใหญ่ Anthus richardi นกอพยพ
นกเด้าดินทุ่งเล็ก Anthus rufulus
นกเด้าดินทุ่งพันธุ์รัสเซีย Anthus godlewskii นกพลัดหลง
นกเด้าดินอกสีชมพู Anthus roseatus นกประจำถิ่น นกอพยพ
นกเด้าดินสวน Anthus hodgsoni นกอพยพ
นกเด้าดินอกแดง Anthus cervinus นกอพยพ
นกเด้าดินพันธุ์ไซบีเรีย Anthus rubescens นกพลัดหลง


นกจาบปีกอ่อน

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Fringillidae

นกจาบปีกอ่อนเป็นนกเกาะคอนกินเมล็ดพืชขนาดเล็กถึงกลาง จะงอยปากหนา ปกติเป็นรูปกรวยและในบางชนิดมีขนาดใหญ่มาก ทุกชนิดมีขนหาง 12 เส้นขนปลายปีก 9 เส้น มี 137 ชนิดทั่วโลก พบ 10 ชนิดในประเทศไทย[45]

นกจาบปีกอ่อนสีกุหลาบ (เพศเมีย)
เป็นนกอพยพที่พบเห็นได้ตามปกติ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจาบปีกอ่อนหัวเทาอกชมพู Fringilla coelebs นกพลัดหลง
นกจาบปีกอ่อนอกสีส้ม Fringilla montifringilla นกพลัดหลง
นกกระติ๊ดใหญ่สร้อยคอเหลือง Mycerobas affinis นกพลัดหลง
นกกระติ๊ดใหญ่ปีกลาย Mycerobas melanozanthos
นกกระติ๊ดใหญ่ปากเหลือง Eophona migratoria นกพลัดหลง
นกจาบปีกอ่อนสีกุหลาบ Carpodacus erythrinus นกอพยพ
นกจาบปีกอ่อนสีแดง Carpodacus sipahi
นกจาบปีกอ่อนสีชมพูคล้ำ Procarduelis nipalensis นกอพยพ
นกจาบปีกอ่อนเขียว Chloris ambigua นกอพยพ หายาก


นกจาบปีกอ่อนเล็ก

[แก้]
อันดับ: Passeriformes วงศ์: Emberizidae

นกจาบปีกอ่อนเล็กเป็นวงศ์ขนาดใหญ่ของนกเกาะคอนกินเมล็ดพืชที่มีรูปจะงอยปากเฉพาะ มี 275 ชนิดทั่วโลก ในประเทศไทยพบ 8 ชนิด[46]

นกจาบปีกอ่อนเล็ก, นกอพยพ
ชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานะ
นกจาบปีกอ่อนหงอน Emberiza lathami นกอพยพ
นกจาบปีกอ่อนหัวดำ Emberiza melanocephala นกพลัดหลง
นกจาบปีกอ่อนหัวแดง Emberiza bruniceps นกพลัดหลง
นกจาบปีกอ่อนหัวเทา Emberiza fucata นกอพยพ
นกจาบปีกอ่อนป่าสน Emberiza leucocephalos นกพลัดหลง
นกจาบปีกอ่อนหัวเทาปากส้ม Emberiza buchanani หายาก
นกจาบปีกอ่อนอกเหลือง Emberiza aureola นกอพยพ อาจสูญพันธุ์ไปแล้วทั่วโลก
นกจาบปีกอ่อนเล็ก Emberiza pusilla นกอพยพ
นกจาบปีกอ่อนหน้าดำ Emberiza spodocephala นกอพยพ หายาก
นกจาบปีกอ่อนสีตาล Emberiza rutila นกอพยพ
นกจาบปีกอ่อนหัวดำขาว Emberiza tristrami นกพลัดหลง


อ้างอิง

[แก้]
  1. Lepage, Denis (22 December 2019). "Checklist of birds of Thailand". Bird Checklists of the World. Avibase. สืบค้นเมื่อ 3 March 2020.
  2. Clements; Schulenberg (Avian Taxonomist), Thomas S.; Iliff, Marshall J.; Marshall, Brian l.; Wood (eBird Project Leaders), Christopher L; Fredericks (eBird Database Administrator), Thomas A.; Roberson, Don (2018). "The eBird/Clements checklist of birds of the world: v2019". Birds of the world checklist. สืบค้นเมื่อ 3 March 2020.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Lekagul, Boonsong; Round, Philip (1991) A Guide to the Birds of Thailand 7-19 ISBN 9748567362
  4. Turner, Angela K; Rose, Chris (1989). A handbook to the Swallows and Martins of the World. Christopher Helm. pp. 86-88. ISBN 0-713-64206-8.
  5. Kitti, Thonglongya (1968). "A new martin of the genus Pseudochelidon from Thailand". Thai National Scientific Papers, Fauna Series no. 1.
  6. Madge, Steve; Burn, Hilary (1988). Wildfowl: An Identification Guide to the Ducks, Geese and Swans of the World (Helm Identification Guides). Christopher Helm. ISBN 0-7470-2201-1.
  7. 7.0 7.1 Madge, Steve; McGowan, Phil (2002). Pheasants, Partridges and Grouse. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3966-0.
  8. Ogilvie, Malcolm; Chris Rose (2003). Grebes of the World. Uxbridge, UK: Bruce Coleman. ISBN 1-872842-03-8
  9. Gibbs, David; Barnes, Eustace; Cox, John (2001). Pigeons and Doves. Pica Press. ISBN 1873403607.
  10. 10.0 10.1 10.2 Yap, Charlotte A. M.; Sodhi, Navjot S. (2004). "Southeast Asian invasive birds: ecology, impact and Management]". Ornithological Science. 3 (1): 57–67. doi:10.2326/osj.3.57. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-03-14. สืบค้นเมื่อ 2010-05-25.
  11. 11.00 11.01 11.02 11.03 11.04 11.05 11.06 11.07 11.08 11.09 11.10 11.11 11.12 11.13 11.14 11.15 11.16 11.17 11.18 11.19 11.20 11.21 11.22 11.23 11.24 11.25 11.26 Walters, Michael (1980). Complete Birds of the World. David & Charles PLC. ISBN 0715376667.
  12. 12.0 12.1 Cleere, Nigel; Nurney, David (2000). Nightjars: A Guide to the Nightjars, Frogmouths, Potoos, Oilbird and Owlet-nightjars of the World. Pica / Christopher Helm. ISBN 1873403488.
  13. 13.0 13.1 Chantler, Phil; Driessens, Gerald (illustrator) (2000). Swifts. Pica / Christopher Helm. ISBN 1873403836.
  14. Taylor, Barry; van Perlo, Ber (2000). Rails. Pica / Christopher Helm. ISBN 1873403593.
  15. BirdLife International (2004). Heliopais personatus. 2007 IUCN Red List of Threatened Species. IUCN 2007. Retrieved on 17 April 2008. Database entry includes justification for why this species is vulnerable
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 16.4 16.5 16.6 16.7 Hayman, Peter; Marchant, John; Prater, Tony (1991). Shorebirds: An Identification Guide to the Waders of the World. Houghton Mifflin. ISBN 0395602378.
  17. 17.00 17.01 17.02 17.03 17.04 17.05 17.06 17.07 17.08 17.09 Harrison, Peter; Peterson, Roger Tory (1991). Seabirds: A Complete Guide to the Seabirds of the World (Helm Identification Guides). Christopher Helm Publishers Ltd. ISBN 071363510X.
  18. Upton, Nick. "Slaty-backed Gull, A new species for Thailand". thaibirding.com. Retrieved 23 November 2009
  19. 19.0 19.1 Onley, Derek; Scofield, Paul (2007). Albatrosses, Petrels and Shearwaters of the World (Helm Field Guides). Christopher Helm Publishers Ltd. ISBN 0713643323.
  20. "Short-tailed Shearwaters Puffinus tenuirostris in the Andaman Sea area, Indian Ocean]" (PDF). Emu. 78: 95–97.
  21. BirdLife International (2006). Mycteria cinerea. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. IUCN 2006. Retrieved on 11 May 2006. Database entry includes a range map, a brief justification of why this species is vulnerable, and the criteria used
  22. BirdLife International (2004). Pelecanus philippensis. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. IUCN 2006. Retrieved on 10 May 2006.
  23. Forsman, Dick (2008). The Raptors of Europe & the Middle East A Handbook of Field Identification. Princeton University Press. pp. 21–25. ISBN 0856610984.
  24. 24.0 24.1 Ferguson-Lees, James; Christie 1 first2 = David (2005). Raptors of the World: A Field Guide (Helm Field Guides). Christopher Helm Publishers Ltd. ISBN 0713669578. {{cite book}}: ไม่มี pipe ใน: |last2= (help)
  25. "Hoopoe". Birdguide. Royal Society for the Protection of Birds (RSPB). สืบค้นเมื่อ 2008-04-17.
  26. 26.0 26.1 26.2 Fry, C. H; Fry, Kathie; Harris, Alan (1992). Kingfishers, Bee-eaters and Rollers. London: Christopher Helm. ISBN 0-7136-1410-8. {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: checksum (help)
  27. Short, L. L. Horne J. F. M. (2002) "วงศ์ Capitonidae (barbets)" in del Hoyo J., Elliott A. & Christie D.A. (2004) Handbook of the Birds of the World. Volume 7. Jamacars to Woodpeckers Lynx Edicions, Barcelona ISBN 84-87334-37-7
  28. BirdLife International (2006). Pitta granatina. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. IUCN 2006. Retrieved on 17 May 2008. Database entry includes a brief justification of why this species is near threatened
  29. BirdLife International (2006). Pitta caerulea. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. IUCN 2006. Retrieved on 17 May 2008. Database entry includes a brief justification of why this species is near threatened
  30. BirdLife International (2006). Pitta elliotii. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. IUCN 2006. Retrieved on 17 May 2008. Database entry includes a brief justification of why this species is near threatened
  31. 31.0 31.1 Harris, Tony; Franklin, Kim (2000). Shrikes and Bush-shrikes: Including Wood-shrikes, Helmet-shrikes, Shrike Flycatchers, Philentomas, Batises and Wattle-eyes (Helm Identification Guides). Christopher Helm Publishers Ltd. ISBN 0691070369.
  32. Dickinson, E. C.; Dekker, R. W. R. J; Eck, S; Somadikarta, S (2003). "Systematic notes on Asian birds. 35. Types of the Aegithinidae]". Zoologische Verhandelingen, Leiden. 344: 17–24.
  33. Boles, W.E. (2006). "วงศ์ Rhipiduridae (Fantails)" 200-244 in: del Hoyo, J., Elliott, A. & Christie, D.A. eds (2006) Handbook of the Birds of the World. Vol. 11. Old World Flycatchers to Old World Warblers. Lynx Edicions, Barcelona. ISBN 978-84-96553-06-4
  34. Hall, Michelle; Ford, Hugh A. (2003). "Monarch Flycatchers". ใน Perrins, Christopher (บ.ก.). The Firefly Encyclopedia of Birds. Firefly Books. pp. 504–505. ISBN 1-55297-777-3.
  35. Madge, Steve; Burn, Hilary (1994). Crows and jays: a guide to the crows, jays and magpies of the world. A&C Black. ISBN 0-7136-3999-7.
  36. Jønsson, K.A., J. Fjeldså, P.G.P. Ericson, and M. Irestedt (2007) "Systematic placement of an enigmatic Southeast Asian taxon Eupetes macrocerus and implications for the biogeography of a main songbird radiation, the Passerida" Biology Letters 3 (3) : 323-326
  37. 37.0 37.1 37.2 37.3 Harrap, Simon; Quinn, David (1996). Tits, Nuthatches and Treecreepers. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3964-4.
  38. Baker, Kevin (1997). Warblers of Europe Asia and North Africa. Princeton University Press. ISBN 0691011699.
  39. Round, Philip D.; Hansson, Bengt; Pearson, David J; Kennerley, Peter; Rensch, Staffan (2007). "Lost and found: the enigmatic large-billed reed warbler Acrocephalus orinus rediscovered after 139 years]" (Abstract). Journal of Avian Biology. 38 (2): 133. doi:10.1111/j.1474-919X.2005.00467.x.
  40. Brewer, David; Mackay, Barry Kent (2001). Wrens, Dippers and Thrashers (Helm Identification Guides). Pica / Christopher Helm. ISBN 187340395X.
  41. Feare, Chris; Craig, Adrian (1999). Starlings and Mynas. Princeton University Press. ISBN 0-7136-3961-X.
  42. Clement, Peter; Hathway, Ren; Wilczur, Jan (2000). Thrushes (Helm Identification Guides). Christopher Helm Publishers Ltd. ISBN 0713639407.
  43. 43.0 43.1 Cheke, Robert A; Mann, Clive; Allen, Ricard (2001). Sunbirds: A Guide to the Sunbirds, Spiderhunters, Sugarbirds and Flowerpeckers of the World (Helm Identification Guides). Pica / Christopher Helm. ISBN 1873403801.
  44. LeCroy, Mary (2003). "Type specimens of birds in the American Museum of Natural History. Part 5. Passeriformes: Alaudidae, Hirundinidae, Motacillidae, Campephagidae, Pycnonotidae, Irenidae, Laniidae, Vangidae, Bombycillidae, Dulidae, Cinclidae, Troglodytidae, and Mimidae". Bulletin of the American Museum of Natural History. 278 (1): 1–156. doi:10.1206/0003-0090 (2003) 278<0001:TSOBIT>2.0.CO;2. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่า |doi= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  45. 45.0 45.1 45.2 Clement, Peter; Harris, Alan; Davis, John (1999). Finches and Sparrows: An Identification Guide (Helm Identification Guides). Christopher Helm Publishers Ltd. ISBN 0713652039.
  46. Byers, Clive; Curson, Jon; Olsson, Urban (1996). Sparrows and Buntings: A Guide to the Sparrows and Buntings of North America and the World. Houghton Mifflin. ISBN 0395738733.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]