ข้ามไปเนื้อหา

ภาษามาดูรา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษามาดูรา
Bhâsa Madhurâ
بۤاسا مادورۤا‎
꧋ꦧꦱꦩꦢꦸꦫ꧉
ประเทศที่มีการพูดประเทศอินโดนีเซีย
ภูมิภาคเกาะมาดูรา, หมู่เกาะซาปูตี, เกาะชวา, ประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย (ในฐานะ Boyanese)
ชาติพันธุ์
จำนวนผู้พูด6.7 ล้านคน  (2554)[1]
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
ระบบการเขียนอักษรละติน
อักษรจารากัน
อักษรเปโกน
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน จังหวัดชวาตะวันออก (ร่วมกับภาษาชวาและภาษาอินโดนีเซีย)
รหัสภาษา
ISO 639-2mad
ISO 639-3
mad – มาดูรามาตรฐาน
ภาษามาดูราที่เขียนด้วยอักษรชวา

ภาษามาดูรา (มาดูรา: bhâsa Madhurâ, เปโกน: بۤاسا مادورۤا) เป็นภาษาที่ใช้พูดบนเกาะมาดูราและเกาะอื่น ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย เช่นเกาะกาเงอัน เกาะซาปูดี และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคโปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดาของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผู้พูด 13,600,000 คนในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัพท์เหมือนกับภาษากาเงอันร้อยละ 75 และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนียง สำเนียงซูเมอเนิปจัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลันที่พูดในซูราบายาเป็นสำเนียงที่ใช้ทางการค้ามากที่สุด เป็นสำเนียงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธิพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซียด้วย

สัทวิทยา

[แก้]

อักษรโรมันที่ปรากฏในตารางเป็นไปตามอักขรวิธี พ.ศ. 2551[2]

สระ

[แก้]
หน่วยเสียงสระภาษามาดูรา
หน้า กลาง หลัง
ปากไม่ห่อ ปากห่อ
ปิด /i/
⟨i⟩
/ɨ/
⟨e⟩
/u/
⟨u⟩
กลาง /ɛ/
⟨è⟩
/ə/
ꦄꦼ ⟨e⟩
/ɤ/
ꦄꦼꦴ ⟨â⟩
/ɔ/
⟨o⟩
เปิด /a/
⟨a⟩

พยัญชนะ

[แก้]
หน่วยเสียงพยัญชนะภาษามาดูรา
ริมฝีปาก ฟัน/
ปุ่มเหงือก
ลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
เสียงนาสิก /m/
⟨m⟩ ⟨م⟩
/n̪/
⟨n⟩ ⟨ن⟩
/ɳ/
⟨ṇ⟩ ⟨ن⟩
/ɲ/
⟨ny⟩ ⟨ۑ⟩
/ŋ/
⟨ng⟩ ⟨ڠ⟩
เสียงหยุด ไม่ก้อง /p/
⟨p⟩ ⟨ڤ⟩
/t̪/
⟨t⟩ ⟨ت⟩
/ʈ/
⟨ṭ⟩ ⟨ڟ⟩
/c/
⟨c⟩ ⟨چ⟩
/k/
⟨k⟩ ⟨ك⟩
/ʔ/
⟨'⟩ ⟨ء⟩
ก้อง /b/
⟨b⟩ ⟨ب⟩
/d̪/
⟨d⟩ ⟨د⟩
/ɖ/
⟨ḍ⟩ ⟨ڊ⟩
/ɟ/
⟨j⟩ ⟨ج⟩
/g/
⟨g⟩ ⟨ࢴ⟩
พ่นลม /pʰ/
⟨bh⟩ ⟨ب⟩
/t̪ʰ/
⟨dh⟩ ⟨د⟩
/ʈʰ/
⟨ḍh⟩ ⟨ڊ⟩
/cʰ/
⟨jh⟩ ⟨ج⟩
/kʰ/
⟨gh⟩ ⟨ࢴ⟩
เสียงเสียดแทรก /s/
⟨s⟩ ⟨س⟩
/h/
⟨h⟩ ⟨ه⟩
เสียงรัว /r/
⟨r⟩ ⟨ر⟩
เสียงเปิด กลาง /j/
⟨y⟩ ⟨ي⟩
/w/
⟨w⟩ ⟨و⟩
ข้างลิ้น /l/
⟨l⟩ ⟨ل⟩

คำทั่วไป

[แก้]
มาดูรา อินโดนีเซีย ไทย
ละติน Pèghu
lakè’ لاكَيء laki-laki ชาย
binè’ بِينَيء perempuan หญิง
iyâ إيۤا iya ใช่
enja′ أٓنجاْء tidak ไม่
aèng [aɛŋ] أئَيڠ air น้ำ
arè أرَي matahari ดวงอาทิตย์
mata ماتا mata ตา
sengko' سَيڠكَوء aku/saya ฉัน
bâ'na بۤاءنا kamu/engkau คุณ

ตัวเลข

[แก้]
มาดูรา อินโดนีเซีย ไทย
ละติน Pèghu
sèttong سَيتَّوڠ satu หนึ่ง
duwâ' دووۤاء dua สอง
tello' تٓلَّوء tiga สาม
empa' اۤمڤاء empat สี่
lèma’ لَيماء lima ห้า
ennem اۤنّٓم enam หก
pètto’ ڤَيتَّوء tujuh เจ็ด
bâllu’ بۤالّوء delapan แปด
sanga′ ساڠاء sembilan เก้า
sapolo ساڤَولَو sepuluh สิบ

ตัวอย่างประโยค

[แก้]

จากข้อที่ 1 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

มาดูรา: Sâdhâjâna orèng lahèr mardhika èsarengè dhrâjhât klabân ha'-ha' sè padâ. Sâdhâjâna èparèngè akal sareng nurani bân kodhu areng-sareng akanca kadhi tarètan.

Aksara Pèghu
[งานค้นคว้าต้นฉบับ?] ساڊۤاجۤانا عَورَيڠ لاهَير مارڊيكا عَيسارۤڠَي ڊ‎رۤاجۤات کلابۤان هاء۲ سَي پادۤا. ساڊۤاجۤانا عَيڤارَيڠَي أکال سارۤڠ نوراني كَوڊو أرۤڠ-سارۤڠ أكانچا كاڊي تارَيتان.

ไทย: "มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ"

อ้างอิง

[แก้]
  1. มาดูรามาตรฐาน ที่ Ethnologue (19th ed., 2016)
  2. ดู Davies (2010), p. 59

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Davies, W. D. (2010). A Grammar of Madurese. Berlin: De Gruyter Mouton.
  • Kiliaan, H. N. (1897). Madoereesche Spraakkunst (ภาษาดัตช์). Batavia: Landsdrukkerij.