ภาษาปอร์
หน้าตา
ภาษาปอร์ | |
---|---|
Por | |
ออกเสียง | [poar][1] |
ประเทศที่มีการพูด | กัมพูชา |
ภูมิภาค | จังหวัดพระวิหาร (เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดกำปงธม) |
จำนวนผู้พูด | 1,670 (2011)[2] |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
ระบบการเขียน | อักษรเขมร |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | pcb |
ภาษาปอร์[3] หรือ ภาษาเปือร์ เป็นภาษาใกล้สูญภาษาหนึ่งของตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ใช้กันในประเทศกัมพูชา คำว่า ปอร์ ในอดีตเป็นศัพท์ที่ใช้เรียกชาวเขมรวรรณะทาสในเชิงดูหมิ่น แต่ถึงกระนั้นก็เป็นศัพท์ที่ใช้กันตามปกติในวรรณกรรมปัจจุบัน เอทโนล็อก รายงานว่ามีผู้พูดภาษานี้ในหมู่บ้าน 3–4 แห่งในอำเภอระเวียง จังหวัดพระวิหาร[4]
ซิดเวลล์ (2009) ซึ่งอ้างถึง Baradat (ms) ถือว่าภาษาปอร์ในจังหวัดกำปงธมเป็นภาษาที่ลู่ออกจากภาษาในกลุ่มเดียวกันมากที่สุด[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Headley Jr., R.K. (1978). "An English-Pearic vocabulary". Mon-Khmer Studies. 7: 82.
- ↑ ภาษาปอร์ ที่ Ethnologue (25th ed., 2022)
- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 362. "ชอง น. ชื่อชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในตระกูลมอญ-เขมร มีมากทางตอนเหนือของจังหวัดจันทบุรี, เรียกตัวเองว่า สำเร หรือ ตำเหรด, เขมรเรียกว่า ปอร์."
- ↑ "Pear". UNESCO Atlas of the World's Languages in danger (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-01-26.
- ↑ Sidwell, Paul (2009). "Classifying the Austroasiatic languages: history and state of the art" เก็บถาวร 2019-03-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. LINCOM studies in Asian linguistics, 76. Munich: Lincom Europa.