ข้ามไปเนื้อหา

คณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 5

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คณะรัฐมนตรีพหลพลพยุหเสนา 2
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 แห่งราชอาณาจักรสยาม
พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2477
วันแต่งตั้ง16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
วันสิ้นสุด22 กันยายน พ.ศ. 2477
(0 ปี 280 วัน)
บุคคลและองค์กร
พระมหากษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
นายกรัฐมนตรีนายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
จำนวนรัฐมนตรี18
จำนวนอดีตรัฐมนตรี2
จำนวนรัฐมนตรีทั้งหมด20
พรรคร่วมรัฐบาลคณะราษฎร
ประวัติ
การเลือกตั้ง15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1
วาระสภานิติบัญญัติ15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 – 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480
ก่อนหน้าคณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 4
ถัดไปคณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 6

คณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 (16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477) จัดตั้งขึ้นหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476

นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

[แก้]
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดำรงตำแหน่งเมื่อตั้งคณะรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งจนสิ้นสุดคณะรัฐมนตรี
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง แต่งตั้งเพิ่ม เปลี่ยนแปลง/โยกย้ายไปตำแหน่งอื่น
รัฐมนตรีลอย ย้ายมาจากตำแหน่งอื่น ออกจากตำแหน่ง
      คณะราษฎร
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 ของไทย
ตำแหน่ง ลำดับ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ ที่มา
นายกรัฐมนตรี * นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
กลาโหม นายพลตรี พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 ลาออก สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
* นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
การคลัง 1 เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร์ ณ สงขลา) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
ต่างประเทศ 2 พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
ธรรมการ นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
3 พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 22 กันยายน พ.ศ. 2477
16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ
มหาดไทย นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
4 หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
ยุติธรรม 5 พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ (วัน จามรมาน) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
วัง 6 เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477
เศรษฐการ พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 ลาออก สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
7 พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) 29 มีนาคม พ.ศ. 2477 22 กันยายน พ.ศ. 2477
8 พระดุลยธารณปรีชาไวท์ (ยม สุทนุศาสน์) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477
9 นายเรือเอก หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
10 หลวงนฤเบศร์มานิต (สงวน จูฑะเตมีย์) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
11 นายพันโท หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
12 พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
13 นายนาวาโท หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
14 พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ้ย สมันตรัฐ หรือ บินอับดุลลาห์) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477
15 นายพันเอก พระสิทธิเรืองเดชพล (แสง พันธุประภาส) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
16 นายนาวาโท หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
17 พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477

การเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี

[แก้]

29 มีนาคม พ.ศ. 2477

[แก้]

การแถลงนโยบายของรัฐบาล

[แก้]

คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี คณะที่ 5 คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2476 และได้รับความไว้วางใจในวันเดียวกันเป็นเอกฉันท์

การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี

[แก้]

คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เพราะเหตุที่รัฐบาลได้เสนอญัตติขอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบด้วยความตกลงระหว่างประเทศ เรื่องควบคุมการจำกัดยางแต่สภาไม่เห็นชอบด้วย ความตกลงที่รัฐบาลได้ลงนามไปก่อน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีทั้งคณะจึงกราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2477

อ้างอิง

[แก้]