ข้ามไปเนื้อหา

กีฬายูโดในโอลิมปิกฤดูร้อน 2024

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูโด
ในโอลิมปิกครั้งที่ 33
สนามกร็องปาแลเอเฟแมร์
วันที่27 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม ค.ศ. 2024
จำนวนรายการ15
จำนวนนักกีฬา372 คน (ชาย 186 คน หญิง 186 คน) คน
← 2020
2028 →

การแข่งขัน กีฬายูโดในโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคม ถึง 3 สิงหาคม ต.ศ. 2024 ที่กร็องปาแลเอเฟแมร์ในช็องเดอมาร์ส[1] จำนวนนักยูโดที่แข่งขันกันในประเภทน้ำหนักต่าง ๆ ทั้ง 14 รุ่นในการแข่งขันครั้งนี้ได้ลดลงจาก 386 คนในโตเกียว 2020 เป็น 372 คน โดยมีการกระจายที่เท่าเทียมกันระหว่างชายและหญิง แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนนักกีฬาเล็กน้อย แต่จำนวนรายการยูโดสำหรับปารีส 2024 ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงจากครั้งก่อนหน้า เนื่องจากการแข่งขันจะมีรุ่นน้ำหนักสำหรับชายและหญิงจำนวนเท่า ๆ กัน โดยแบ่งเป็นเพศละ 7 รุ่น และมีการแข่งขันทีมผสมเป็นครั้งที่สอง ซึ่งเป็นรายการที่จัดขึ้นต่อจากการแข่งขันครั้งแรกเมื่อสามปีก่อนในโตเกียว[2]

กำหนดการแข่งขัน

[แก้]
สัญลักษณ์
Q Elimination and quarterfinals F Repechage, semifinals, and final medal matches
กำหนดการ[3]
รายการ↓/วันที่ → ส. 27 อา. 28 จ. 29 อ. 30 พ. 31 พฤ. 1 ศ. 2 ส. 3
ชาย
60 ก.ก. ชาย Q F
66 ก.ก. ชาย Q F
73 ก.ก. ชาย Q F
81 ก.ก. ชาย Q F
90 ก.ก. ชาย Q F
100 ก.ก. ชาย Q F
+100 ก.ก. ชาย Q F
หญิง
48 ก.ก. หญิง Q F
52 ก.ก. หญิง Q F
57 ก.ก. หญิง Q F
63 ก.ก. หญิง Q F
70 ก.ก. หญิง Q F
78 ก.ก. หญิง Q F
+78 ก.ก. หญิง Q F
ผสม
ทีมผสม Q F

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

เหรียญรางวัลทั้งหมด 60 เหรียญ ได้รับโดย 26 NOC[4]

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]

  *  เจ้าภาพ ( ฝรั่งเศส)

ลำดับที่NOCทองเงินทองแดงรวม
1 ญี่ปุ่น3238
2 ฝรั่งเศส*22610
3 อาเซอร์ไบจาน2002
4 จอร์เจีย1203
5 บราซิล1124
6 อุซเบกิสถาน1023
7 คาซัคสถาน1012
8 อิตาลี1001
สโลวีเนีย1001
โครเอเชีย1001
แคนาดา1001
12 เกาหลีใต้0235
13 อิสราเอล0213
14 คอซอวอ0112
15 เม็กซิโก0101
มองโกเลีย0101
เยอรมนี0101
18 ทาจิกิสถาน0022
มอลโดวา0022
20 ออสเตรีย0011
กรีซ0011
โปรตุเกส0011
เบลเยียม0011
สวีเดน0011
จีน0011
สเปน0011
รวม (26 NOC)15153060

รายชื่อผู้ได้รับเหรียญรางวัล

[แก้]

ชาย

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
Extra-lightweight (60 kg)
รายละเอียด
Yeldos Smetov
 คาซัคสถาน
Luka Mkheidze
 ฝรั่งเศส
Ryuju Nagayama
 ญี่ปุ่น
Francisco Garrigós
 สเปน
Half-lightweight (66 kg)
รายละเอียด
Hifumi Abe
 ญี่ปุ่น
Willian Lima
 บราซิล
Gusman Kyrgyzbayev
 คาซัคสถาน
Denis Vieru
 มอลโดวา
Lightweight (73 kg)
รายละเอียด
Hidayat Heydarov
 อาเซอร์ไบจาน
Joan-Benjamin Gaba
 ฝรั่งเศส
Adil Osmanov
 มอลโดวา
Soichi Hashimoto
 ญี่ปุ่น
Half-middleweight (81 kg)
รายละเอียด
Takanori Nagase
 ญี่ปุ่น
Tato Grigalashvili
 จอร์เจีย
Lee Joon-hwan
 เกาหลีใต้
Somon Makhmadbekov
 ทาจิกิสถาน
Middleweight (90 kg)
รายละเอียด
Lasha Bekauri
 จอร์เจีย
Sanshiro Murao
 ญี่ปุ่น
Maxime-Gaël Ngayap Hambou
 ฝรั่งเศส
Theodoros Tselidis
 กรีซ
Half-heavyweight (100 kg)
รายละเอียด
Zelym Kotsoiev
 อาเซอร์ไบจาน
Ilia Sulamanidze
 จอร์เจีย
Peter Paltchik
 อิสราเอล
Muzaffarbek Turoboyev
 อุซเบกิสถาน
Heavyweight (+100 kg)
รายละเอียด
Teddy Riner
 ฝรั่งเศส
Kim Min-jong
 เกาหลีใต้
Temur Rakhimov
 ทาจิกิสถาน
Alisher Yusupov
 อุซเบกิสถาน

หญิง

[แก้]
ผู้ได้รับเหรียญรางวัลในประเภท 52 ก.ก. หญิง
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
Extra-lightweight (48 kg)
รายละเอียด
Natsumi Tsunoda
 ญี่ปุ่น
Bavuudorjiin Baasankhüü
 มองโกเลีย
Shirine Boukli
 ฝรั่งเศส
Tara Babulfath
 สวีเดน
Half-lightweight (52 kg)
รายละเอียด
Diyora Keldiyorova
 อุซเบกิสถาน
Distria Krasniqi
 คอซอวอ
Larissa Pimenta
 บราซิล
Amandine Buchard
 ฝรั่งเศส
Lightweight (57 kg)
รายละเอียด
Christa Deguchi
 แคนาดา
Huh Mi-mi
 เกาหลีใต้
Haruka Funakubo
 ญี่ปุ่น
Sarah-Léonie Cysique
 ฝรั่งเศส
Half-middleweight (63 kg)
รายละเอียด
Andreja Leški
 สโลวีเนีย
Prisca Awiti Alcaraz
 เม็กซิโก
Clarisse Agbegnenou
 ฝรั่งเศส
Laura Fazliu
 คอซอวอ
Middleweight (70 kg)
รายละเอียด
Barbara Matić
 โครเอเชีย
Miriam Butkereit
 เยอรมนี
Michaela Polleres
 ออสเตรีย
Gabriella Willems
 เบลเยียม
Half-heavyweight (78 kg)
รายละเอียด
Alice Bellandi
 อิตาลี
Inbar Lanir
 อิสราเอล
Ma Zhenzhao
 จีน
Patrícia Sampaio
 โปรตุเกส
Heavyweight (+78 kg)
รายละเอียด
Beatriz Souza
 บราซิล
Raz Hershko
 อิสราเอล
Kim Ha-yun
 เกาหลีใต้
Romane Dicko
 ฝรั่งเศส

ผสม

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
Mixed team
รายละเอียด
ฝรั่งเศส (FRA)
Shirine Boukli
Joan-Benjamin Gaba
Amandine Buchard
Walide Khyar
Sarah-Léonie Cysique
Luka Mkheidze
Clarisse Agbegnenou
Alpha Oumar Djalo
Marie-Ève Gahié
Maxime-Gaël Ngayap Hambou
Romane Dicko
Aurélien Diesse
Madeleine Malonga
Teddy Riner
ญี่ปุ่น (JPN)
Uta Abe
Hifumi Abe
Haruka Funakubo
Soichi Hashimoto
Natsumi Tsunoda
Ryuju Nagayama
Saki Niizoe
Sanshiro Murao
Miku Takaichi
Takanori Nagase
Aaron Wolf
Rika Takayama
Akira Sone
Tatsuru Saito
บราซิล (BRA)
Daniel Cargnin
Leonardo Gonçalves
Willian Lima
Rafael Macedo
Guilherme Schimidt
Rafael Silva
Larissa Pimenta
Ketleyn Quadros
Rafaela Silva
Beatriz Souza
เกาหลีใต้ (KOR)
Lee Hye-kyeong
Kim Won-jin
Jung Ye-rin
An Ba-ul
Huh Mi-mi
Kim Ji-su
Lee Joon-hwan
Han Ju-yeop
Yoon Hyun-ji
Kim Ha-yun
Kim Min-jong

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Paris 2024 – Judo". Paris 2024. สืบค้นเมื่อ 28 December 2022.
  2. Kohlhuber, Nicolas (12 December 2022). "How to qualify for judo at Paris 2024. The Olympics qualification system explained". International Olympic Committee. สืบค้นเมื่อ 28 December 2022.
  3. "Paris 2024 Olympic Competition Schedule – Judo". Paris 2024. pp. 55–56. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-08-01. สืบค้นเมื่อ 28 December 2022.
  4. "Medal standings" (PDF). www.olympics.com/. Paris Organising Committee for the 2024 Olympic and Paralympic Games. 3 August 2024. สืบค้นเมื่อ 2 September 2024.