ข้ามไปเนื้อหา

การออกแบบอย่างชาญฉลาด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การออกแบบอย่างชาญฉลาด (อังกฤษ: intelligent design, ID) เป็นมุมมองทางวิทยาศาสตร์เทียม[1][2]อย่างหนึ่ง ที่มองว่า ลักษณะบางอย่างของจักรวาลและสิ่งมีชีวิต ไม่อาจมีคำอธิบายที่ดีอย่างอื่นนอกจากการที่ถูกออกแบบโดยความฉลาด และไม่ได้เกิดจากกระบวนการที่ไม่ได้รับการชี้นำ เช่น การคัดเลือกโดยธรรมชาติ[3] นักการศึกษา นักปรัชญา และวงการวิทยาศาสตร์ ได้แสดงหลักฐานให้เห็นแล้วว่าแนวคิดนี้เป็นข้อถกเถียงเชิงศาสนา โดยเป็นความเชื่อเรื่องการมีผู้สร้าง (creationism) อย่างหนึ่ง ซึ่งไม่มีหลักฐานสนับสนุน และไม่มีการเสนอสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้[4][5][6] ฝ่ายสนับสนุนแนวคิดนี้มองว่าแนวคิดนี้เป็น "ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์แบบอิงหลักฐานเกี่ยวกับกำเนิดของชีวิต" ที่ท้าทายแนวคิดหลักของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ซึ่งเชื่อเรื่องธรรมชาตินิยมเชิงกระบวนการ (methodological naturalism)

อ้างอิง

[แก้]
  1. Boudry, Maarten; Blancke, Stefaan; Braeckman, Johan (December 2010). "Irreducible Incoherence and Intelligent Design: A Look into the Conceptual Toolbox of a Pseudoscience". The Quarterly Review of Biology. Chicago, IL: University of Chicago Press. 85 (4): 473–482. doi:10.1086/656904. PMID 21243965. Article available from Universiteit Gent
  2. Pigliucci 2010
  3. "CSC - Top Questions: Questions About Intelligent Design: What is the theory of intelligent design?". Center for Science and Culture. Seattle, WA: Discovery Institute. สืบค้นเมื่อ 2012-06-16.
  4. Forrest, Barbara (May 2007). "Understanding the Intelligent Design Creationist Movement: Its True Nature and Goals" (PDF). Center for Inquiry. Washington, D.C.: Center for Inquiry. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ May 19, 2011. สืบค้นเมื่อ 2007-08-06. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  5. See:
  6. "An intelligently designed response". Nature Methods (Editorial). London: Nature Publishing Group. 4 (12): 983. December 2007. doi:10.1038/nmeth1207-983. ISSN 1548-7091. สืบค้นเมื่อ 2014-02-28.