ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไม้ผล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ไม้ผล''' มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้ล้มลุก ไม้ผลยืนต้นมีตั้งแต่ลำต้นขนาดเล็กไปจนถึงลำต้นขนาดใหญ่ มีทั้งที่รับประทานผลสุกและรับประทานผลดิบ
'''ไม้ผล''' มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้ล้มลุก ไม้ผลยืนต้นมีตั้งแต่ลำต้นขนาดเล็กไปจนถึงลำต้นขนาดใหญ่ มีทั้งที่รับประทานผลสุกและรับประทานผลดิบ


== การผลิต ==
การผลิตผลไม้ตามปกติอาศัยธรรมชาติเป็นปัจจัยหลักหากเป็นการผลิตเพื่อบริโภคเองในครัวเรือน ผู้ปลูกก็สามารถรอคอยจนกระทั่งถึงฤดูกาลออกดอก และติดผลตามปกติ แต่การปลูกเพื่อการค้า ซึ่งราคาของผลิตผลจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปริมาณผลิตผลในขณะนั้นๆ และคุณภาพของผลไม้ คือถ้าเป็นช่วงจังหวะที่มีผลไม้ชนิดนั้นออกสู่ตลาดมาก เช่น ในฤดูกาลออกดอกติดผลตามปกติ ราคาของผลิตผล ก็จะต่ำลง แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีผลไม้ออกมาสู่ตลาดน้อย ราคาก็ย่อมต้องสูงขึ้น ดังนั้น ผู้ที่ปลูกไม้ผลเป็นการค้าหลายราย จึงมีความต้องการที่จะผลิตผลไม้นอกฤดูกาลปกติ เพื่อที่จะได้จำหน่ายผลไม้ในปริมาณเท่าเดิมแต่ได้ราคาเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ การผลิต ผลไม้นอกฤดูกาลจำเป็นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีที่จำเป็นต้องใช้ จึงจะได้ผลตามที่ต้องการ<br /><br />
การผลิตผลไม้ตามปกติอาศัยธรรมชาติเป็นปัจจัยหลักหากเป็นการผลิตเพื่อบริโภคเองในครัวเรือน ผู้ปลูกก็สามารถรอคอยจนกระทั่งถึงฤดูกาลออกดอกและติดผลตามปกติ แต่การปลูกเพื่อการค้า ซึ่งราคาของผลิตผลจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปริมาณผลิตผลในขณะนั้นๆ และคุณภาพของผลไม้คือถ้าเป็นช่วงจังหวะที่มีผลไม้ชนิดนั้นออกสู่ตลาดมาก เช่น ในฤดูกาลออกดอกติดผลตามปกติราคาของผลิตผลก็จะต่ำลงแต่ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีผลไม้ออกมาสู่ตลาดน้อยราคาก็ย่อมต้องสูงขึ้น ดังนั้น ผู้ที่ปลูกไม้ผลเป็นการค้าหลายราย จึงมีความต้องการที่จะผลิตผลไม้นอกฤดูกาลปกติ เพื่อที่จะได้จำหน่ายผลไม้ในปริมาณเท่าเดิมแต่ได้ราคาเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้การผลิตผลไม้นอกฤดูกาลจำเป็นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีที่จำเป็นต้องใช้จึงจะได้ผลตามที่ต้องการ
ประเทศไทยมีเขตที่ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือระหว่างเส้นรุ้งที่ 6 – 20 องศาเหนือ สภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกันทำให้เกิดความหลากหลายในการกระจายของผลผลิตไม้เมืองร้อนออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องตลอดปี พื้นที่ปลูกไม้ผลตามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยในปี 2548 ประมาณ 9.68 ล้านไร่ เป็นมะม่วง 22.68% ทุเรียน 10.08% ลำไย 10.07% กล้วยน้ำว้า 8.33% เงาะ 6.79% และผลไม้อื่น ๆ 42.05% ให้ผลผลิต 12.69 ล้านตัน การส่งออกทั้งในรูปผลสดและผลิตภัณฑ์ มีปริมาณ 1.4 ล้านตัน ด้วยมูลค่ามากกว่า 40,000 ล้านบาท หรือประมาณ 6.6% ของมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร<br /><br />

ไม้ผลเมืองร้อนของประเทศไทยสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ คือ กลุ่มที่ 1 ไม้ผลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากและมีมูลค่าการส่งออกสูง จำนวน 10 ชนิด ได้แก่ ลำไย ทุเรียน มังคุด ลิ้นจี่ มะม่วง ส้มโอ เงาะ สับปะรด มะพร้าวน้ำหอม และมะขาม กลุ่มที่ 2 ไม้ผลที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจในอนาคตหรือเป็นไม้ผลท้องถิ่น/พื้นเมือง มีการบริโภคภายในประเทศมากกว่าการส่งออก ได้แก่ กระท้อน ชมพู่ น้อยหน่า พุทรา มะปราง ฝรั่ง ลองกอง ลางสาด สละ ขนุน มะนาว องุ่น กล้วย เป็นต้น<br /><br />
== ประเทศไทย ==
''ลำไย ''
ประเทศไทยมีเขตที่ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือระหว่างเส้นรุ้งที่ 6 – 20 องศาเหนือ สภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกันทำให้เกิดความหลากหลายในการกระจายของผลผลิตไม้เมืองร้อนออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องตลอดปี พื้นที่ปลูกไม้ผลตามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยในปี [[พ.ศ. 2548]] ประมาณ 9.68 ล้านไร่ แบ่งออกเป็นมะม่วง 22.68% ทุเรียน 10.08% ลำไย 10.07% กล้วยน้ำว้า 8.33% เงาะ 6.79% และผลไม้อื่น ๆ 42.05% ให้ผลผลิต 12.69 ล้านตัน การส่งออกทั้งในรูปผลสดและผลิตภัณฑ์ มีปริมาณ 1.4 ล้านตัน ด้วยมูลค่ามากกว่า 40,000 ล้านบาท หรือประมาณ 6.6% ของมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ไม้ผลเมืองร้อนของประเทศไทยสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ คือ
มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนตอนใต้ เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ในปี 2547 มีพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ 938,033 ไร่ ผลผลิต 868,022.93 ตัน ผลผลิตลำไยส่วนใหญ่บริโภคภายในประเทศ ประเทศไทยส่งออกลำไยสดปริมาณ 133,646 ตัน ลำไยแช่แข็งส่งออก 787 ตัน และลำไยแห้งส่งออก 94,774 ตัน<br /><br />

'' ทุเรียน ''
*กลุ่มที่ 1 - ไม้ผลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากและมีมูลค่าการส่งออกสูง จำนวน 10 ชนิด ได้แก่ ลำไย, ทุเรียน, มังคุด, ลิ้นจี่, มะม่วง, ส้มโอ, เงาะ, สับปะรด, มะพร้าวน้ำหอมและมะขาม
มีถิ่นกำเนิดในสุมาตรา จัดเป็นไม้ผลเศรษฐกิจของประเทศไทย มีการปลูกแทบทุกภาค แหล่งปลูกที่สำคัญอยู่ในภาคตะวันออกและภาคใต้ นอกจากบริโภคภายในประเทศแล้ว ยังมีการส่งออกทุเรียนสดไปยัง จีน ฮ่องกง ไต้หวัน ทุเรียนแช่แข็งส่งไปยัง สหรัฐอเมริกา และทุเรียนกวนส่งไปยัง สิงคโปร์ มาเลเซีย<br /><br />
*กลุ่มที่ 2 - ไม้ผลที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจในอนาคตหรือเป็นไม้ผลท้องถิ่นหรือพื้นเมือง มีการบริโภคภายในประเทศมากกว่าการส่งออก ได้แก่ กระท้อน, ชมพู่, น้อยหน่า, พุทรา, มะปราง, ฝรั่ง, ลองกอง, ลางสาด, สละ, ขนุน, มะนาว, องุ่นและกล้วย เป็นต้น
'' มังคุด ''

มีถิ่นกำเนิดในคาบสมุทรมาลายู ประเทศไทยมีศักยภาพในการส่งออกสูง เนื่องจากรสชาติเป็นที่นิยมของผู้บริโภคทั่วไป มีการปลูกมากทางภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศ ประเทศไทยส่งออกมังคุดเป็นอันดับ 1 ของโลก ประเทศคู่ค้าสำคัญที่มีการนำเข้ามังคุด ได้แก่ จีน ฮ่องกง และญี่ปุ่น และส่งออกมังคุดแช่แข็งไปยังประเทศญี่ปุ่น<br /><br />
== ไม้ผลทางเศรษฐกิจของไทย ==
'' ลิ้นจี่ ''
[[ไฟล์:Mangues.JPG|thumb|right|200px]]
เป็นไม้ผลกึ่งเมืองร้อน-เมืองหนาว มีถิ่นกำเนิดที่เมืองกวางดองและฟูเจียนทางตอนใต้ของประเทศจีน มีหลายสายพันธุ์ เช่น พันธุ์ฮงฮวย พันธุ์โอวเฮียะ พันธุ์กิมเจ็ง พันธุ์จักรพรรดิ เป็นต้นประเทศไทยมีการปลูกมากที่สุดในภาคเหนือ มีการส่งออกทั้งลิ้นจี่สดและลิ้นจี่กระป๋อง ประเทศคู่ค้าสำคัญที่ไทยส่งออกลิ้นจี่สูงที่สุด คือ มาเลเซีย รองลงมา คือ สิงคโปร์ ฮ่องกง ตามลำดับ<br /><br />
[[ไฟล์:Durio kutej F 070203 ime.jpg|thumb|right|200px]]
'' มะม่วง ''
[[ไฟล์:Rambutans.JPG|thumb|right|200px]]
เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในอินโดจีน-พม่า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการปลูกทุกภาคของประเทศไทย มีการบริโภคภายในประเทศ ส่งออกต่างประเทศทั้งในรูปผลไม้สดและแปรรูป โดยพันธุ์ที่มีศักยภาพในการส่งออกได้แก่ น้ำดอกไม้สีทอง น้ำดอกไม้มหาชนก และโชคอนันต์<br /><br />
[[ไฟล์:Pineapple1.JPG|thumb|right|200px]]
''ส้มโอ ''
*''' [[ลำไย]] ''' - มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนตอนใต้ เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ในปี [[พ.ศ. 2547]] มีพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ 938,033 ไร่ ผลผลิต 868,022.93 ตัน ผลผลิตลำไยส่วนใหญ่บริโภคภายในประเทศ ประเทศไทยส่งออกลำไยสดปริมาณ 133,646 ตัน ลำไยแช่แข็งส่งออก 787 ตัน และลำไยแห้งส่งออก 94,774 ตัน
เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดทางเกาะมลายู และหมู่เกาะโปลินีเซีย มีศักยภาพการส่งออกสูง มีลักษณะเด่น คือ รสชาติดีและผลสามารถเก็บรักษาได้นาน ประเทศผู้นำเข้าส้มโอจากประเทศไทยที่สำคัญ ได้แก่ แคนนาดา จีน เนเธอแลนด์ ฮ่องกง<br /><br />
*''' [[ทุเรียน]] ''' - มีถิ่นกำเนิดในสุมาตรา จัดเป็นไม้ผลเศรษฐกิจของประเทศไทย มีการปลูกแทบทุกภาค แหล่งปลูกที่สำคัญอยู่ในภาคตะวันออกและภาคใต้ นอกจากบริโภคภายในประเทศแล้วยังมีการส่งออกทุเรียนสดไปยังประเทศจีน, ฮ่องกงและไต้หวัน ทุเรียนแช่แข็งส่งไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา และทุเรียนกวนส่งไปยังประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย
''เงาะ ''
*''' [[มังคุด]] ''' - มีถิ่นกำเนิดในคาบสมุทรมาลายู ประเทศไทยมีศักยภาพในการส่งออกสูง เนื่องจากรสชาติเป็นที่นิยมของผู้บริโภคทั่วไป มีการปลูกมากทางภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศ ประเทศไทยส่งออกมังคุดเป็นอันดับ 1 ของโลก ประเทศคู่ค้าสำคัญที่มีการนำเข้ามังคุด ได้แก่ จีน, ฮ่องกง และญี่ปุ่น ส่วนการส่งออกมังคุดแช่แข็งไปยังประเทศญี่ปุ่น
เป็นไม้ผลเขตร้อนของเอเชีย มีถิ่นกำเนิดแถบหมู่เกาะมลายู ต่อมาได้กระจายพันธุ์ไปยังประเทศต่าง ๆ ได้แก่ สิงคโปร์ ไทย พม่า รวมทั้งประเทศในแถบอเมริกากลาง พื้นที่ปลูกเงาะในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออก รองลงมาคือภาคใต้ ตลาดหลักที่สำคัญคือตลาดภายในประเทศ มีการส่งออกเงาะในรูปแบบผลไม้สด และผลไม้กระป๋องสอดไส้สับปะรดในน้ำเชื่อม<br /><br />
*''' [[ลิ้นจี่]] ''' - เป็นไม้ผลกึ่งเมืองร้อนกึ่งเมืองหนาว มีถิ่นกำเนิดที่เมืองกวางดองและฟูเจียนทางตอนใต้ของประเทศจีนและมีหลายสายพันธุ์ เช่น พันธุ์ฮงฮวย, พันธุ์โอวเฮียะ, พันธุ์กิมเจ็งและพันธุ์จักรพรรดิเป็นต้น ประเทศไทยมีการปลูกมากที่สุดในภาคเหนือ มีการส่งออกทั้งลิ้นจี่สดและลิ้นจี่กระป๋อง ประเทศคู่ค้าสำคัญที่ไทยส่งออกลิ้นจี่สูงที่สุดได้แก่ มาเลเซีย รองลงมาคือ สิงคโปร์และฮ่องกง ตามลำดับ
''สับปะรด ''
*''' [[มะม่วง]] ''' - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในอินโดจีน - พม่า และในแถบ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีการปลูกทุกภาคของประเทศไทย มีการบริโภคภายในประเทศ การส่งออกต่างประเทศมีทั้งในรูปผลไม้สดและแปรรูป โดยพันธุ์ที่มีศักยภาพในการส่งออกได้แก่ น้ำดอกไม้สีทอง, น้ำดอกไม้มหาชนก และโชคอนันต์
เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้ บริเวณตอนกลางและตอนใต้ของประเทศบลาซิล สับปะรดเป็นพืชที่ทำรายได้และชื่อเสียงให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก โดยประเทศไทยส่งออกสับปะรดและผลิตภัณฑ์สับปะรด ได้แก่ สับปะรดกระป๋องและน้ำสับปะรด เป็นอันดับหนึ่งของโลก<br /><br />
*''' [[ส้มโอ]] ''' - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดทางเกาะมลายูและหมู่เกาะโปลินีเซีย มีศักยภาพการส่งออกสูง มีลักษณะเด่นคือรสชาติดีและผลสามารถเก็บรักษาได้นาน ประเทศผู้นำเข้าส้มโอจากประเทศไทยที่สำคัญ ได้แก่ แคนนาดา, จีน, เนเธอแลนด์และฮ่องกง
''มะพร้างน้ำหอม ''
*''' [[เงาะ]] ''' - เป็นไม้ผลเขตร้อนของเอเชียมีถิ่นกำเนิดแถบหมู่เกาะมลายู ต่อมาได้กระจายพันธุ์ไปยังประเทศต่าง ๆ ได้แก่ สิงคโปร์, ไทย, พม่า รวมทั้งประเทศในแถบอเมริกากลาง พื้นที่ปลูกเงาะในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกและรองลงมาคือภาคใต้ ตลาดหลักที่สำคัญคือตลาดภายในประเทศ มีการส่งออกเงาะในรูปแบบผลไม้สดและผลไม้กระป๋องสอดไส้สับปะรดในน้ำเชื่อม
เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย และเป็นแหล่งผลิตมะพร้าวน้ำหอมประเทศเดียวในโลก มีการส่งออกในรูปผลอ่อนไปยังต่างประเทศ โดยประเทศนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ไต้หวัน สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ และมีแนวโน้มการส่งออกที่เพิ่มมากขึ้นด้วย<br /><br />
*''' [[สับปะรด]] ''' - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของ[[ทวีปอเมริกาใต้]]และบริเวณตอนกลางและตอนใต้ของประเทศบราซิล สับปะรดเป็นพืชที่ทำรายได้และชื่อเสียงให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก โดยประเทศไทยส่งออกสับปะรดสดและผลิตภัณฑ์สับปะรด ทั้งสับปะรดกระป๋องและน้ำสับปะรดได้เป็นอันดับหนึ่งของโลก
''มะขาม ''
*''' [[มะพร้าวน้ำหอม]] ''' - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยและเป็นแหล่งผลิตมะพร้าวน้ำหอมประเทศเดียวในโลก มีการส่งออกในรูปผลอ่อนไปยังต่างประเทศ โดยประเทศนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ไต้หวัน, สหรัฐอเมริกา, ฮ่องกง, ญี่ปุ่นและสิงคโปร์ และมีแนวโน้มการส่งออกที่เพิ่มมากขึ้นด้วย
เป็นไม้ผลที่สำคัญของชนิดหนึ่ง มะขามในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ มะขามหวาน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้และแอฟริกาตะวันออก ชนิดที่ 2 มะขามเปรี้ยว มีถิ่นกำเนิดแถบร้อนของทวีปแอฟริกา สำหรับพันธุ์มะขามในประเทศไทย มีดังนี้ มะขามหวาน ได้แก่ พันธุ์สีทอง ศรีชมพู ขันตี อินทผลัม ประกายทอง มะขามเปรี้ยว ได้แก่ พันธุ์ฝักโต และพันธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตร คือ พันธุ์ศรีสะเกษ 019<br /><br />
*''' [[มะขาม]] ''' - เป็นไม้ผลที่สำคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย มะขามในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ
**มะขามหวาน - มีถิ่นกำเนิดใน[[เอเชียใต้]]และ[[แอฟริกาตะวันออก]] พันธุ์มะขามหวานในประเทศไทยได้แก่ พันธุ์สีทอง, พันธุ์ศรีชมพู, พันธุ์ขันตี, พันธุ์อินทผลัมและพันธุ์ประกายทอง
**มะขามเปรี้ยว - มีถิ่นกำเนิดแถบร้อนของ[[ทวีปแอฟริกา]] พันธุ์มะขามเปรี้ยวในประเทศไทยได้แก่ พันธุ์ฝักโตและพันธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตรคือ พันธุ์ศรีสะเกษ 019

ในส่วนของการส่งเสริม[[วิชาชีพเกษตร]]ของวิทยาลัยเกษตรกรรมทั่วทั้งประเทศไทยก็ได้มีการส่งเสริมให้ความรู้กับเกษตรกรในพื้นที่และมีการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตเกษตรกรไม้ผลที่มีคุณภาพ
ในส่วนของการส่งเสริม[[วิชาชีพเกษตร]]ของวิทยาลัยเกษตรกรรมทั่วทั้งประเทศไทยก็ได้มีการส่งเสริมให้ความรู้กับเกษตรกรในพื้นที่และมีการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตเกษตรกรไม้ผลที่มีคุณภาพ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:28, 23 มกราคม 2553

กล้วยหอมทอง

ไม้ผล มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้ล้มลุก ไม้ผลยืนต้นมีตั้งแต่ลำต้นขนาดเล็กไปจนถึงลำต้นขนาดใหญ่ มีทั้งที่รับประทานผลสุกและรับประทานผลดิบ

การผลิต

การผลิตผลไม้ตามปกติอาศัยธรรมชาติเป็นปัจจัยหลักหากเป็นการผลิตเพื่อบริโภคเองในครัวเรือน ผู้ปลูกก็สามารถรอคอยจนกระทั่งถึงฤดูกาลออกดอกและติดผลตามปกติ แต่การปลูกเพื่อการค้า ซึ่งราคาของผลิตผลจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปริมาณผลิตผลในขณะนั้นๆ และคุณภาพของผลไม้คือถ้าเป็นช่วงจังหวะที่มีผลไม้ชนิดนั้นออกสู่ตลาดมาก เช่น ในฤดูกาลออกดอกติดผลตามปกติราคาของผลิตผลก็จะต่ำลงแต่ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีผลไม้ออกมาสู่ตลาดน้อยราคาก็ย่อมต้องสูงขึ้น ดังนั้น ผู้ที่ปลูกไม้ผลเป็นการค้าหลายราย จึงมีความต้องการที่จะผลิตผลไม้นอกฤดูกาลปกติ เพื่อที่จะได้จำหน่ายผลไม้ในปริมาณเท่าเดิมแต่ได้ราคาเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้การผลิตผลไม้นอกฤดูกาลจำเป็นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีที่จำเป็นต้องใช้จึงจะได้ผลตามที่ต้องการ

ประเทศไทย

ประเทศไทยมีเขตที่ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือระหว่างเส้นรุ้งที่ 6 – 20 องศาเหนือ สภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกันทำให้เกิดความหลากหลายในการกระจายของผลผลิตไม้เมืองร้อนออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องตลอดปี พื้นที่ปลูกไม้ผลตามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2548 ประมาณ 9.68 ล้านไร่ แบ่งออกเป็นมะม่วง 22.68% ทุเรียน 10.08% ลำไย 10.07% กล้วยน้ำว้า 8.33% เงาะ 6.79% และผลไม้อื่น ๆ 42.05% ให้ผลผลิต 12.69 ล้านตัน การส่งออกทั้งในรูปผลสดและผลิตภัณฑ์ มีปริมาณ 1.4 ล้านตัน ด้วยมูลค่ามากกว่า 40,000 ล้านบาท หรือประมาณ 6.6% ของมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ไม้ผลเมืองร้อนของประเทศไทยสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ คือ

  • กลุ่มที่ 1 - ไม้ผลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากและมีมูลค่าการส่งออกสูง จำนวน 10 ชนิด ได้แก่ ลำไย, ทุเรียน, มังคุด, ลิ้นจี่, มะม่วง, ส้มโอ, เงาะ, สับปะรด, มะพร้าวน้ำหอมและมะขาม
  • กลุ่มที่ 2 - ไม้ผลที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจในอนาคตหรือเป็นไม้ผลท้องถิ่นหรือพื้นเมือง มีการบริโภคภายในประเทศมากกว่าการส่งออก ได้แก่ กระท้อน, ชมพู่, น้อยหน่า, พุทรา, มะปราง, ฝรั่ง, ลองกอง, ลางสาด, สละ, ขนุน, มะนาว, องุ่นและกล้วย เป็นต้น

ไม้ผลทางเศรษฐกิจของไทย

  • ลำไย - มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนตอนใต้ เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2547 มีพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ 938,033 ไร่ ผลผลิต 868,022.93 ตัน ผลผลิตลำไยส่วนใหญ่บริโภคภายในประเทศ ประเทศไทยส่งออกลำไยสดปริมาณ 133,646 ตัน ลำไยแช่แข็งส่งออก 787 ตัน และลำไยแห้งส่งออก 94,774 ตัน
  • ทุเรียน - มีถิ่นกำเนิดในสุมาตรา จัดเป็นไม้ผลเศรษฐกิจของประเทศไทย มีการปลูกแทบทุกภาค แหล่งปลูกที่สำคัญอยู่ในภาคตะวันออกและภาคใต้ นอกจากบริโภคภายในประเทศแล้วยังมีการส่งออกทุเรียนสดไปยังประเทศจีน, ฮ่องกงและไต้หวัน ทุเรียนแช่แข็งส่งไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา และทุเรียนกวนส่งไปยังประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย
  • มังคุด - มีถิ่นกำเนิดในคาบสมุทรมาลายู ประเทศไทยมีศักยภาพในการส่งออกสูง เนื่องจากรสชาติเป็นที่นิยมของผู้บริโภคทั่วไป มีการปลูกมากทางภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศ ประเทศไทยส่งออกมังคุดเป็นอันดับ 1 ของโลก ประเทศคู่ค้าสำคัญที่มีการนำเข้ามังคุด ได้แก่ จีน, ฮ่องกง และญี่ปุ่น ส่วนการส่งออกมังคุดแช่แข็งไปยังประเทศญี่ปุ่น
  • ลิ้นจี่ - เป็นไม้ผลกึ่งเมืองร้อนกึ่งเมืองหนาว มีถิ่นกำเนิดที่เมืองกวางดองและฟูเจียนทางตอนใต้ของประเทศจีนและมีหลายสายพันธุ์ เช่น พันธุ์ฮงฮวย, พันธุ์โอวเฮียะ, พันธุ์กิมเจ็งและพันธุ์จักรพรรดิเป็นต้น ประเทศไทยมีการปลูกมากที่สุดในภาคเหนือ มีการส่งออกทั้งลิ้นจี่สดและลิ้นจี่กระป๋อง ประเทศคู่ค้าสำคัญที่ไทยส่งออกลิ้นจี่สูงที่สุดได้แก่ มาเลเซีย รองลงมาคือ สิงคโปร์และฮ่องกง ตามลำดับ
  • มะม่วง - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในอินโดจีน - พม่า และในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการปลูกทุกภาคของประเทศไทย มีการบริโภคภายในประเทศ การส่งออกต่างประเทศมีทั้งในรูปผลไม้สดและแปรรูป โดยพันธุ์ที่มีศักยภาพในการส่งออกได้แก่ น้ำดอกไม้สีทอง, น้ำดอกไม้มหาชนก และโชคอนันต์
  • ส้มโอ - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดทางเกาะมลายูและหมู่เกาะโปลินีเซีย มีศักยภาพการส่งออกสูง มีลักษณะเด่นคือรสชาติดีและผลสามารถเก็บรักษาได้นาน ประเทศผู้นำเข้าส้มโอจากประเทศไทยที่สำคัญ ได้แก่ แคนนาดา, จีน, เนเธอแลนด์และฮ่องกง
  • เงาะ - เป็นไม้ผลเขตร้อนของเอเชียมีถิ่นกำเนิดแถบหมู่เกาะมลายู ต่อมาได้กระจายพันธุ์ไปยังประเทศต่าง ๆ ได้แก่ สิงคโปร์, ไทย, พม่า รวมทั้งประเทศในแถบอเมริกากลาง พื้นที่ปลูกเงาะในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกและรองลงมาคือภาคใต้ ตลาดหลักที่สำคัญคือตลาดภายในประเทศ มีการส่งออกเงาะในรูปแบบผลไม้สดและผลไม้กระป๋องสอดไส้สับปะรดในน้ำเชื่อม
  • สับปะรด - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้และบริเวณตอนกลางและตอนใต้ของประเทศบราซิล สับปะรดเป็นพืชที่ทำรายได้และชื่อเสียงให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก โดยประเทศไทยส่งออกสับปะรดสดและผลิตภัณฑ์สับปะรด ทั้งสับปะรดกระป๋องและน้ำสับปะรดได้เป็นอันดับหนึ่งของโลก
  • มะพร้าวน้ำหอม - เป็นไม้ผลที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยและเป็นแหล่งผลิตมะพร้าวน้ำหอมประเทศเดียวในโลก มีการส่งออกในรูปผลอ่อนไปยังต่างประเทศ โดยประเทศนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ไต้หวัน, สหรัฐอเมริกา, ฮ่องกง, ญี่ปุ่นและสิงคโปร์ และมีแนวโน้มการส่งออกที่เพิ่มมากขึ้นด้วย
  • มะขาม - เป็นไม้ผลที่สำคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย มะขามในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ
    • มะขามหวาน - มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้และแอฟริกาตะวันออก พันธุ์มะขามหวานในประเทศไทยได้แก่ พันธุ์สีทอง, พันธุ์ศรีชมพู, พันธุ์ขันตี, พันธุ์อินทผลัมและพันธุ์ประกายทอง
    • มะขามเปรี้ยว - มีถิ่นกำเนิดแถบร้อนของทวีปแอฟริกา พันธุ์มะขามเปรี้ยวในประเทศไทยได้แก่ พันธุ์ฝักโตและพันธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตรคือ พันธุ์ศรีสะเกษ 019

ในส่วนของการส่งเสริมวิชาชีพเกษตรของวิทยาลัยเกษตรกรรมทั่วทั้งประเทศไทยก็ได้มีการส่งเสริมให้ความรู้กับเกษตรกรในพื้นที่และมีการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตเกษตรกรไม้ผลที่มีคุณภาพ

อ้างอิง

  • เอกสารวิชาการงานราชพฤกษ์ 2549:กรมวิชาการ “ไม้ผลเมืองไทย”