ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข"

พิกัด: 13°51′06″N 100°31′55″E / 13.8515401°N 100.5319458°E / 13.8515401; 100.5319458
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
 
(ไม่แสดง 23 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 13 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox government agency
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2|ชื่อหน่วยงาน={{PAGENAME}}|ชื่อในภาษาแม่_1=|ชื่อในภาษาแม่_2=Health Systems Research Institute|ชื่อในภาษาแม่_ท=|สัญลักษณ์=|สัญลักษณ์_กว้าง=|สัญลักษณ์_บรรยาย=|ตรา=สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.jpg|ตรา_กว้าง=150px|ตรา_บรรยาย=ภาพเครื่องหมายที่ใช้ในราชการ|ภาพ=|ภาพ_กว้าง=|ภาพ_บรรยาย=|วันก่อตั้ง=10 เมษายน พ.ศ. 2535<ref name="hsrigazette" />|ผู้ก่อตั้ง=|สืบทอดจาก_1=|สืบทอดจาก_2=|สืบทอดจาก_3=|สืบทอดจาก_4=|สืบทอดจาก_5=|สืบทอดจาก_6=|วันยุบเลิก=|สืบทอดโดย=|เขตอำนาจ=|กองบัญชาการ={{flagicon|Thailand}}<br />ชั้น 4 อาคารสุขภาพแห่งชาติ เลขที่ 88/39 ถ.ติวานนท์ 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมืองนนทบุรี
| name = สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
จ.นนทบุรี 11000|latd=|latm=|lats=|latNS=|longd=|longm=|longs=|longEW=|รหัสภูมิภาค=|บุคลากร=|งบประมาณ=|รัฐมนตรี1_ชื่อ=|รัฐมนตรี1_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี2_ชื่อ=|รัฐมนตรี2_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี3_ชื่อ=|รัฐมนตรี3_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี4_ชื่อ=|รัฐมนตรี4_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี5_ชื่อ=|รัฐมนตรี5_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี6_ชื่อ=|รัฐมนตรี6_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี7_ชื่อ=|รัฐมนตรี7_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี8_ชื่อ=|รัฐมนตรี8_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี9_ชื่อ=|รัฐมนตรี9_ตำแหน่ง=|รัฐมนตรี10_ชื่อ=|รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง=|หัวหน้า1_ชื่อ=นพ. นพพร ชื่นกลิ่น<ref>{{Cite web |url=https://cabinet.soc.go.th/soc/Program2-3.jsp?top_serl=99329005 |title='มติครม.เห็นชอบการแต่งตั้ง นายนพพร ชื่นกลิ่น ให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข' |access-date=2019-01-15 |archive-date=2020-12-04 |archive-url=https://web.archive.org/web/20201204205301/https://cabinet.soc.go.th/soc/Program2-3.jsp?top_serl=99329005 |url-status=dead }}</ref>|หัวหน้า1_ตำแหน่ง=ผู้อำนวยการ|หัวหน้า2_ชื่อ=ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์|หัวหน้า2_ตำแหน่ง=รองผู้อำนวยการและผู้จัดการงานวิจัยอาวุโส|หัวหน้า3_ชื่อ=|หัวหน้า3_ตำแหน่ง=|ประเภทหน่วยงาน=องค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะ|ต้นสังกัด=|กำกับดูแล=|ลูกสังกัด_1=|ลูกสังกัด_2=|ลูกสังกัด_3=|ลูกสังกัด_4=|ลูกสังกัด_5=|ลูกสังกัด_6=|ลูกสังกัด_7=|ลูกสังกัด_8=|ลูกสังกัด_9=|เอกสารหลัก_1=[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/045/6.PDF พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535]|เว็บไซต์=[https://www.hsri.or.th www.hsri.or.th]|หมายเหตุ=สวรส. เป็นองค์กรประเภทองค์การมหาชนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ<ref name="Orgtype" />|แผนที่=|แผนที่_กว้าง=|แผนที่_บรรยาย=}}
| native_name = Health systems Research Institute
| logo = Logo of the Health Systems Research Institute.svg
| logo_size = 200px
| logo_caption = ตราสัญลักษณ์
| formed = {{start date and age2|2535|4|10}}<ref name="hsrigazette" />
| headquarters = เลขที่ 88/39 ชั้น 4 อาคารสุขภาพแห่งชาติ [[ถนนติวานนท์]] [[ตำบลตลาดขวัญ]] [[อำเภอเมืองนนทบุรี]] [[จังหวัดนนทบุรี]] 11000
| coordinates = {{coord|13.8515401|100.5319458|type:landmark_region:TH|display=inline,title}}
| agency_type = [[องค์การมหาชน]]
| employees = 108 คน (พ.ศ. 2565)<ref>สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, [https://www.hsri.or.th/storage/texteditor/pdf018_1.pdf แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2565 – พ.ศ. 2569 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ. 2566)], สืบค้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2567</ref>
| budget = 53,271,200 บาท<br>(พ.ศ. 2568)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha.soc.go.th/document/44678.pdf พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘]{{ลิงก์เสีย|date=ธันวาคม 2024 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}, เล่ม ๑๔๑ ตอนที่ ๕๙ ก หน้า ๗๘, ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗</ref>
| chief1_name = ศุภกิจ ศิริลักษณ์
| chief1_position = ผู้อำนวยการ
| chief2_name = สุระ วิเศษศักดิ์
| chief2_position = รองผู้อำนวยการ
| chief3_name = จรวยพร ศรีศศลักษณ์
| chief3_position = รองผู้อำนวยการ
| type = สถาบัน
| parent_agency = [[กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)|กระทรวงสาธารณสุข]]
| keydocument1 = [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/045/6.PDF พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535]
| website = {{url|https://www.hsri.or.th/|เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ}}
}}


'''สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Health Systems Research Institute) หรือเรียกโดยย่อว่า '''สวรส.''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: HSRI) เป็นองค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535<ref name="hsrigazette">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/045/6.PDF พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535] เล่ม 109 ตอนที่ 45 หน้าที่ 6 วันที่ 9 เมษายน 2535</ref> <ref name="Orgtype">[https://po.opdc.go.th/content/MTg4 องค์การมหาชนที่จัดตั้งตาม พ.ร.บ. เฉพาะ]</ref> พร้อมๆ กับการจัดตั้ง[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]] (สกว.) และ[[สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ]] (สวทช.) โดยมีโครงสร้างองค์กรและการบริหารที่เน้นความคล่องตัว เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายในการจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การพัฒนาระบบสุขภาพได้ (Better Knowledge Management for Better Health Systems)<ref name="เว็บไซต์สวรส">https://www.hsri.or.th/researcher/about/history</ref> สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ [[อาคารสุขภาพแห่งชาติ]] [[กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)|กระทรวงสาธารณสุข]] [[ถนนติวานนท์]] [[ตำบลตลาดขวัญ]] [[อำเภอเมืองนนทบุรี]] [[จังหวัดนนทบุรี]]
'''สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข''' ({{langx|en|Health Systems Research Institute, HSRI}}) หรือเรียกโดยย่อว่า '''สวรส.''' เป็นองค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535<ref name="hsrigazette">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/045/6.PDF พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535] เล่ม 109 ตอนที่ 45 หน้าที่ 6 วันที่ 9 เมษายน 2535</ref><ref name="Orgtype">[https://po.opdc.go.th/content/MTg4 องค์การมหาชนที่จัดตั้งตาม พ.ร.บ. เฉพาะ]</ref> พร้อม ๆ กับการจัดตั้ง[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]] (สกว.) และ[[สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ]] (สวทช.) โดยมีโครงสร้างองค์กรและการบริหารที่เน้นความคล่องตัว เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายในการจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การพัฒนาระบบสุขภาพได้<ref name="เว็บไซต์สวรส">{{Cite web |url=https://www.hsri.or.th/researcher/about/history |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2019-01-15 |archive-date=2020-09-23 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200923125202/https://www.hsri.or.th/researcher/about/history |url-status=dead }}</ref> สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่[[อาคารสุขภาพแห่งชาติ]] [[กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)|กระทรวงสาธารณสุข]] [[ถนนติวานนท์]] [[ตำบลตลาดขวัญ]] [[อำเภอเมืองนนทบุรี]] [[จังหวัดนนทบุรี]]

== ประวัติองค์กร ==
{{โครง-ส่วน}}


== ผลงานขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศ ==
== ผลงานขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศ ==


=== ระยะที่ 1 ปี พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2541  ===
=== ระยะที่ 1 ปี พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2541  ===
การทำงานระยะแรกเน้นที่การวิจัยสร้างความรู้ใช้เป็นฐานสำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพ ในมิติต่างๆ
การทำงานระยะแรกเน้นที่การวิจัยสร้างความรู้ใช้เป็นฐานสำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพในมิติต่าง ๆ


พ.ศ. 2541 เกิด[[สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ]] ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: International Health Policy Program: IHPP)<ref>{{Cite web |url=http://www.ihppthaigov.net/ |title=สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ |access-date=2019-01-28 |archive-date=2019-01-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190121004427/http://www.ihppthaigov.net/ |url-status=dead }}</ref><br />
พ.ศ. 2541 เกิด[[สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ]]<ref>{{Cite web |url=http://www.ihppthaigov.net/ |title=สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ |access-date=2019-01-28 |archive-date=2019-01-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190121004427/http://www.ihppthaigov.net/ |url-status=dead }}</ref><br />


=== ระยะที่ 2 ปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2547 ===
=== ระยะที่ 2 ปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2547 ===
สวรส.เน้นหนักสนับสนุนการทำงานวิจัยสร้างความรู้เพื่อสนับสนุนการปฏิรูประบบสุขภาพ   และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมปฏิรูประบบสุขภาพในทุกระดับ  นำมาสู่การประกาศใช้[http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%CA71/%CA71-20-9999-update.pdf สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และการจัดตั้ง[[สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ|คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ]] (คสช.)  ซึ่งเป็นกลไกนโยบายใหม่ในระบบสุขภาพไทย รวมทั้ง นำมาซึ่งสมัชชาสุขภาพ  ซึ่งเป็นกลไกที่ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม
สวรส.เน้นหนักสนับสนุนการทำงานวิจัยสร้างความรู้เพื่อสนับสนุนการปฏิรูประบบสุขภาพ และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมปฏิรูประบบสุขภาพในทุกระดับ นำมาสู่การประกาศใช้ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และการจัดตั้ง[[สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ|คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ]] ซึ่งเป็นกลไกนโยบายใหม่ในระบบสุขภาพไทย รวมทั้ง นำมาซึ่งสมัชชาสุขภาพ ซึ่งเป็นกลไกที่ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม


พ.ศ. 2542 ก่อตั้ง[[สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)|สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล]] ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Hospital Quality Improvement and Accreditation)
พ.ศ. 2542 ก่อตั้ง[[สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)|สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล]]


พ.ศ. 2543 คณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (คปรส.)
พ.ศ. 2543 คณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (คปรส.)
บรรทัด 25: บรรทัด 43:
พ.ศ. 2544 ทำการวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาลในรูปแบบองค์การมหาชน โดยเริ่มนำร่อง 1 แห่ง ที่[[โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)|โรงพยาบาลบ้านแพ้ว]] จังหวัดสมุทรสาคร
พ.ศ. 2544 ทำการวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาลในรูปแบบองค์การมหาชน โดยเริ่มนำร่อง 1 แห่ง ที่[[โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)|โรงพยาบาลบ้านแพ้ว]] จังหวัดสมุทรสาคร


พ.ศ. 2544 พัฒนาระบบประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Impact Assessment: HIA) เป็นครั้งแรก
พ.ศ. 2544 พัฒนาระบบประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นครั้งแรก


พ.ศ. 2545  มี[http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%CB29/%CB29-20-2545-a0001.pdf พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545]<br />
พ.ศ. 2545  มีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545


=== ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2550 ===
=== ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2550 ===
บรรทัด 34: บรรทัด 52:
พ.ศ. 2548 จัดตั้งสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.)
พ.ศ. 2548 จัดตั้งสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.)


พ.ศ. 2550 มีการประกาศใช้ [http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%CA71/%CA71-20-9999-update.pdf พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550]
พ.ศ. 2550 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550


พ.ศ. 2550 เกิดแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไทย และการก่อตั้งสถาบันสุขภาพวิถีไทย
พ.ศ. 2550 เกิดแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไทย และการก่อตั้งสถาบันสุขภาพวิถีไทย


พ.ศ. 2550 จัดตั้งแผนงาน[[ความร่วมมือภูมิภาคเอเซียการวิจัยโรคติดเชื้ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ]]<ref>[http://apeir.net/ เว็บไซต์ความร่วมมือภูมิภาคเอเซียการวิจัยโรคติดเชื้ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ]</ref>([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: [[Asia Partnership on Emerging Infectious Disease Research]]: APEIR)
พ.ศ. 2550 จัดตั้งแผนงานความร่วมมือภูมิภาคเอเซียการวิจัยโรคติดเชื้ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ<ref>{{Cite web |url=http://apeir.net/ |title=เว็บไซต์ความร่วมมือภูมิภาคเอเซียการวิจัยโรคติดเชื้ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ |access-date=2019-01-28 |archive-date=2019-01-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190121081036/http://apeir.net/ |url-status=dead }}</ref>


พ.ศ. 2550 ร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Strategic National Plan on Human Resources for Health)
พ.ศ. 2550 ร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ


พ.ศ. 2550 ตั้ง[[สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์]](สคม.)<ref>[http://www.ihrp.or.th/ สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์]</ref><br />
พ.ศ. 2550 ตั้งสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.)<ref>[http://www.ihrp.or.th/ สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์]</ref>


=== ระยะที่ 4 ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556 ===
=== ระยะที่ 4 ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556 ===
ในช่วง 3 ปีแรก หลังจากมี พ.ร.บ.สุขภาพฯ สวรส.ได้ทำงานวิชาการเพื่อสานต่อและทำให้ประเด็นต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.สุขภาพฯ เป็นมรรคผล ไม่ว่าจะเป็น การสร้างความรู้สนับสนุนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยสุขภาพแห่งชาติ หรือการทำงานวิชาการเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายของ[[คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ]] เป็นต้น
ในช่วง 3 ปีแรก หลังจากมี พ.ร.บ.สุขภาพฯ สวรส. ได้ทำงานวิชาการเพื่อสานต่อและทำให้ประเด็นต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.สุขภาพฯ เป็นมรรคผล ไม่ว่าจะเป็น การสร้างความรู้สนับสนุนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยสุขภาพแห่งชาติ หรือการทำงานวิชาการเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายของ[[คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ]] เป็นต้น


และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา สวรส. ได้ปรับตัวและปรับบทบาทหน้าที่ หันมาเน้นหนักที่ “การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่ยั่งยืน” ด้วยเห็นว่าภารกิจการสร้างความรู้สาขาเฉพาะต่าง ๆ มีหน่วยงานใหม่ที่มีศักยภาพเข้ามาดูแล สวรส.จึงขันอาสาที่จะเป็นแกนประสานและจัดการให้เกิดการนำเอาความรู้และวิทยาการต่าง ๆ นั้น มาจัดการให้เกิดประโยชน์ ให้เกิดการตัดสินใจในการพัฒนาระบบสุขภาพบนฐานความรู้ และสนับสนุนให้ระบบมีความเป็นธรรมและยั่งยืนยิ่งขึ้น
และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา สวรส. ได้ปรับตัวและปรับบทบาทหน้าที่ หันมาเน้นหนักที่ “การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่ยั่งยืน” ด้วยเห็นว่าภารกิจการสร้างความรู้สาขาเฉพาะต่าง ๆ มีหน่วยงานใหม่ที่มีศักยภาพเข้ามาดูแล สวรส.จึงขันอาสาที่จะเป็นแกนประสานและจัดการให้เกิดการนำเอาความรู้และวิทยาการต่าง ๆ นั้น มาจัดการให้เกิดประโยชน์ ให้เกิดการตัดสินใจในการพัฒนาระบบสุขภาพบนฐานความรู้ และสนับสนุนให้ระบบมีความเป็นธรรมและยั่งยืนยิ่งขึ้น


พ.ศ. 2551 ต่อยอดและขยายผลแผนงาน[[การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R]] [[ภาษาอังกฤษ|(อังกฤษ]]: Routine to Research Program)
พ.ศ. 2551 ต่อยอดและขยายผลแผนงานการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R


พ.ศ. 2552 แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา [[ภาษาอังกฤษ|(อังกฤษ]]: Pharmacy System Research Network: PSRN)
พ.ศ. 2552 แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา


พ.ศ. 2553 จัดตั้ง[[สำนักงานพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพแห่งชาติ]]
พ.ศ. 2553 จัดตั้งสำนักงานพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพสา


พ.ศ. 2554 จัดตั้ง[[ศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย]](ศรท.)<ref>[http://www.tcmc.or.th ศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย]</ref>
พ.ศ. 2554 จัดตั้งศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (ศรท.)<ref>[http://www.tcmc.or.th ศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย]</ref> (ปัจจุบัน สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สรท.))<ref>{{Cite web|last=สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สรท.)|title=สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย - Thai CaseMix Centre|url=https://www.tcmc.or.th|website=สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สรท.)|language=th}}</ref> [https://www.tcmc.or.th สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย]


พ.ศ. 2555 จัดตั้ง[[ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย]](ศมสท.)<ref>[http://www.this.or.th ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย]</ref>
พ.ศ. 2555 จัดตั้งศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.)<ref>[http://www.this.or.th ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย]</ref> (ปัจจุบัน สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.)<ref>{{Cite web|date=2024-10-11|title=สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.)|url=https://www.this.or.th|website=สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.)|language=en-US}}</ref>


=== ระยะที่ 5 พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน ===
=== ระยะที่ 5 พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน ===
บรรทัด 66: บรรทัด 84:
โดยงานวิจัยต่างๆ เน้นการสร้างองค์ความรู้ที่ครอบคลุมทุกมิติในระบบสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็น  ด้านการคลังสุขภาพ  ด้านกำลังคน  ด้านการแพทย์/เทคโนโลยีการแพทย์  ด้านระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ  ด้านโครงสร้างพื้นฐาน  ด้านกฎหมาย / ข้อบังคับ  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพคนไทย ผ่านงานวิจัยต่างๆ ตัวอย่างเช่น  งานวิจัยปฏิรูปบทบาทกระทรวงสาธารณสุขตามนโยบายเขตสุขภาพ  งานวิจัยมุ่งเป้าด้านสุขภาพและชีวเวชศาสตร์สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์  งานวิจัยลดปัจจัยเสี่ยงทางด้านสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การลดสาเหตุการตาย  การวิเคราะห์อัตรากำลังบุคลากรสาธารณสุข  งานวิจัยระบบยา ฯลฯ
โดยงานวิจัยต่างๆ เน้นการสร้างองค์ความรู้ที่ครอบคลุมทุกมิติในระบบสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็น  ด้านการคลังสุขภาพ  ด้านกำลังคน  ด้านการแพทย์/เทคโนโลยีการแพทย์  ด้านระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ  ด้านโครงสร้างพื้นฐาน  ด้านกฎหมาย / ข้อบังคับ  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพคนไทย ผ่านงานวิจัยต่างๆ ตัวอย่างเช่น  งานวิจัยปฏิรูปบทบาทกระทรวงสาธารณสุขตามนโยบายเขตสุขภาพ  งานวิจัยมุ่งเป้าด้านสุขภาพและชีวเวชศาสตร์สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์  งานวิจัยลดปัจจัยเสี่ยงทางด้านสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การลดสาเหตุการตาย  การวิเคราะห์อัตรากำลังบุคลากรสาธารณสุข  งานวิจัยระบบยา ฯลฯ
== ผลผลิตและบริการ ==
== ผลผลิตและบริการ ==
<u>งานวิจัย</u> ผลงานวิจัยของ สวรส. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยไม่มีลิขสิทธิ์ตาม สิทธิ์การเผยแพร่ ([[creativecommons:by-nc-sa/3.0/th/|CC BY-NC-SA]]) สามารถดาวน์โหลดผลงานวิจัยของ สวรส. ได้ที่ https://kb.hsri.or.th
งานวิจัย ผลงานวิจัยของ สวรส. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยไม่มีลิขสิทธิ์ตาม สิทธิ์การเผยแพร่ ([[creativecommons:by-nc-sa/3.0/th/|CC BY-NC-SA]])


<u>วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข</u> ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] : Journal of Health Systems Research)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข เป็นเครื่องมือเผยแพร่วิชาการเพื่อสนับสนุนและยกขีดความสามารถในการผลิตองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยระบบสุขภาพ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบาย นักวิจัย นักวิชาการและบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ เผยแพร่ในรูปแบบดิจิทัล โดยวารสารฯ ปัจจุบันไม่จัดพิมพ์รูปเล่มกระดาษ สามารถส่งผลงานเพื่อตีพิมพ์ได้ที่ https://www.hsri.or.th/e-journal
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข เป็นเครื่องมือเผยแพร่วิชาการเพื่อสนับสนุนและยกขีดความสามารถในการผลิตองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยระบบสุขภาพ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบาย นักวิจัย นักวิชาการและบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ เผยแพร่ในรูปแบบดิจิทัล โดยวารสารฯ ปัจจุบันไม่จัดพิมพ์รูปเล่มกระดาษ


<u>ห้องสมุด 100 ปี เสม พริ้งพวงแก้ว</u> จัดเป็นห้องสมุดเฉพาะซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ เอกสารวิจัย งานวิชาการและหนังสือที่น่าสนใจ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ ตั้งอยู่ ณ ชั้น 1 อาคารสุขภาพแห่งชาติ สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.sem100library.in.th
ห้องสมุด 100 ปี เสม พริ้งพวงแก้ว จัดเป็นห้องสมุดเฉพาะซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ เอกสารวิจัย งานวิชาการและหนังสือที่น่าสนใจ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ ตั้งอยู่ ณ ชั้น 1 อาคารสุขภาพแห่งชาติ

คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ ศูนย์กลางข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ในระบบสุขภาพ (ปัจจุบันหยุดให้บริการแล้ว) โดยทาง สวรส. ได้พัฒนาเครื่องมือในการช่วยค้นคว้า และเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยงานและองค์กรด้านสุขภาพในประเทศไทยหลายแหล่ง เพื่อให้ค้นหาข้อมูลดังกล่าวได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว


<u>คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ</u> ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] : Knowledge Center) ศูนย์กลางข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ในระบบสุขภาพ โดยทาง สวรส. ได้พัฒนาเครื่องมือในการช่วยค้นคว้า และเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยงานและองค์กรด้านสุขภาพในประเทศไทยหลายแหล่ง เพื่อให้ค้นหาข้อมูลดังกล่าวได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว สามารถใช้งานได้ที่ http://www.sem100kc.in.th/<br />
== สัญลักษณ์องค์กร ==
== สัญลักษณ์องค์กร ==
แนวคิดการออกแบบตราสัญลักษณ์ของ สวรส.
แนวคิดการออกแบบตราสัญลักษณ์ของ สวรส.
บรรทัด 91: บรรทัด 110:
|-
|-
|1
|1
|นพ.[[สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์]]
|[[สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์]]
|2
|2
|ก่อตั้ง - พ.ศ. 2541
|ก่อตั้ง - พ.ศ. 2541
บรรทัด 97: บรรทัด 116:
|-
|-
|2
|2
|นพ.[[วิพุธ พูลเจริญ]]
|[[วิพุธ พูลเจริญ]]
|2
|2
|พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2547
|พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2547
บรรทัด 103: บรรทัด 122:
|-
|-
|3
|3
|นพ.[[ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล]]
|[[ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล]]
| -
| -
|พ.ศ. 2547- พ.ศ. 2549
|พ.ศ. 2547- พ.ศ. 2549
บรรทัด 109: บรรทัด 128:
|-
|-
|4
|4
|นพ.[[กิตตินันท์ อนรรฆมณี]]
|[[กิตตินันท์ อนรรฆมณี]]
| -
| -
|พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550
|พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550
บรรทัด 115: บรรทัด 134:
|-
|-
|5
|5
|นพ.[[พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข]]
|[[พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข]]
|2
|2
|พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2556
|พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2556
บรรทัด 121: บรรทัด 140:
|-
|-
|6
|6
|ศ.นพ.[[สมเกียรติวัฒนศิริชัยกุล]]
|[[สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล]]
| -
| -
|พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2557
|พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2557
บรรทัด 127: บรรทัด 146:
|-
|-
|7
|7
|นพ.[[ภูษิต ประคองสาย]]
|[[ภูษิต ประคองสาย]]
| -
| -
|พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558
|พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558
บรรทัด 133: บรรทัด 152:
|-
|-
|8
|8
|นพ.[[พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์]]
|[[พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์]]
|1
|1
|พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2561
|พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2561
บรรทัด 139: บรรทัด 158:
|-
|-
|9
|9
|นพ.[[นพพร ชื่นกลิ่น]]
|[[นพพร ชื่นกลิ่น]]
| -
| -
|พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน
|พ.ศ. 2561 - ก.ค. 2566
|
|
|-
|10
|จรวยพร ศรีศศลักษณ์
| -
|ก.ค. 2566 - ก.ย. 2566
|รักษาการ
|-
|11
|[[ศุภกิจ ศิริลักษณ์]]
| -
|ก.ย. 2566 - ปัจจุบัน
|}
|}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{กระทรวงสาธารณสุขของไทย}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{official|https://www.hsri.or.th}}
{{Geolinks-bldg|13.8515401|100.5319458}}


{{กระทรวงสาธารณสุขของไทย}}
เว็บไซต์ https://www.hsri.or.th

เฟสบุ๊ค https://www.facebook.com/hsrithailand

ทวิตเตอร์ https://www.twitter.com/hsrithailand


ยูทูบ https://www.youtube.com/user/hsrithailand
[[หมวดหมู่:หน่วยงานของรัฐบาลไทยในจังหวัดนนทบุรี]]
[[หมวดหมู่:หน่วยงานของรัฐบาลไทยในจังหวัดนนทบุรี]]
[[หมวดหมู่:กระทรวงสาธารณสุข]]
[[หมวดหมู่:กระทรวงสาธารณสุข]]
บรรทัด 165: บรรทัด 189:
[[หมวดหมู่:การวิจัยทางการพยาบาล]]
[[หมวดหมู่:การวิจัยทางการพยาบาล]]
[[หมวดหมู่:องค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535]]
[[หมวดหมู่:องค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535]]
[[หมวดหมู่:องค์การมหาชน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:31, 20 ธันวาคม 2567

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
Health systems Research Institute
ตราสัญลักษณ์
ภาพรวมสถาบัน
ก่อตั้ง10 เมษายน พ.ศ. 2535; 32 ปีก่อน (2535-04-10)[1]
ประเภทองค์การมหาชน
สำนักงานใหญ่เลขที่ 88/39 ชั้น 4 อาคารสุขภาพแห่งชาติ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000
13°51′06″N 100°31′55″E / 13.8515401°N 100.5319458°E / 13.8515401; 100.5319458
บุคลากร108 คน (พ.ศ. 2565)[2]
งบประมาณต่อปี53,271,200 บาท
(พ.ศ. 2568)[3]
ฝ่ายบริหารสถาบัน
  • ศุภกิจ ศิริลักษณ์, ผู้อำนวยการ
  • สุระ วิเศษศักดิ์, รองผู้อำนวยการ
  • จรวยพร ศรีศศลักษณ์, รองผู้อำนวยการ
ต้นสังกัดสถาบันกระทรวงสาธารณสุข
เอกสารหลัก
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (อังกฤษ: Health Systems Research Institute, HSRI) หรือเรียกโดยย่อว่า สวรส. เป็นองค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535[1][4] พร้อม ๆ กับการจัดตั้งสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมีโครงสร้างองค์กรและการบริหารที่เน้นความคล่องตัว เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายในการจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การพัฒนาระบบสุขภาพได้[5] สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี

ผลงานขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศ

[แก้]

ระยะที่ 1 ปี พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2541  

[แก้]

การทำงานระยะแรกเน้นที่การวิจัยสร้างความรู้ใช้เป็นฐานสำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพในมิติต่าง ๆ

พ.ศ. 2541 เกิดสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ[6]

ระยะที่ 2 ปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2547

[แก้]

สวรส.เน้นหนักสนับสนุนการทำงานวิจัยสร้างความรู้เพื่อสนับสนุนการปฏิรูประบบสุขภาพ และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมปฏิรูประบบสุขภาพในทุกระดับ นำมาสู่การประกาศใช้ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และการจัดตั้งคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งเป็นกลไกนโยบายใหม่ในระบบสุขภาพไทย รวมทั้ง นำมาซึ่งสมัชชาสุขภาพ ซึ่งเป็นกลไกที่ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม

พ.ศ. 2542 ก่อตั้งสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

พ.ศ. 2543 คณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (คปรส.)

พ.ศ. 2544 เกิดสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จากงานวิจัยพัฒนานโยบายส่งเสริมสุขภาพ

พ.ศ. 2544 ทำการวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาลในรูปแบบองค์การมหาชน โดยเริ่มนำร่อง 1 แห่ง ที่โรงพยาบาลบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร

พ.ศ. 2544 พัฒนาระบบประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นครั้งแรก

พ.ศ. 2545  มีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545

ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2550

[แก้]

พ.ศ. 2548 เกิดสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.)

พ.ศ. 2548 จัดตั้งสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.)

พ.ศ. 2550 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550

พ.ศ. 2550 เกิดแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไทย และการก่อตั้งสถาบันสุขภาพวิถีไทย

พ.ศ. 2550 จัดตั้งแผนงานความร่วมมือภูมิภาคเอเซียการวิจัยโรคติดเชื้ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ[7]

พ.ศ. 2550 ร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ

พ.ศ. 2550 ตั้งสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.)[8]

ระยะที่ 4 ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556

[แก้]

ในช่วง 3 ปีแรก หลังจากมี พ.ร.บ.สุขภาพฯ สวรส. ได้ทำงานวิชาการเพื่อสานต่อและทำให้ประเด็นต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.สุขภาพฯ เป็นมรรคผล ไม่ว่าจะเป็น การสร้างความรู้สนับสนุนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยสุขภาพแห่งชาติ หรือการทำงานวิชาการเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายของคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เป็นต้น

และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา สวรส. ได้ปรับตัวและปรับบทบาทหน้าที่ หันมาเน้นหนักที่ “การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่ยั่งยืน” ด้วยเห็นว่าภารกิจการสร้างความรู้สาขาเฉพาะต่าง ๆ มีหน่วยงานใหม่ที่มีศักยภาพเข้ามาดูแล สวรส.จึงขันอาสาที่จะเป็นแกนประสานและจัดการให้เกิดการนำเอาความรู้และวิทยาการต่าง ๆ นั้น มาจัดการให้เกิดประโยชน์ ให้เกิดการตัดสินใจในการพัฒนาระบบสุขภาพบนฐานความรู้ และสนับสนุนให้ระบบมีความเป็นธรรมและยั่งยืนยิ่งขึ้น

พ.ศ. 2551 ต่อยอดและขยายผลแผนงานการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R

พ.ศ. 2552 แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา

พ.ศ. 2553 จัดตั้งสำนักงานพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพสา

พ.ศ. 2554 จัดตั้งศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (ศรท.)[9] (ปัจจุบัน สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สรท.))[10] สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย

พ.ศ. 2555 จัดตั้งศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.)[11] (ปัจจุบัน สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.)[12]

ระยะที่ 5 พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน

[แก้]

ระยะนี้เป็นช่วงเริ่มต้นของการดำเนินงานภายใต้วิสัยทัศน์ "องค์กรขับเคลื่อนความรู้สู่ระบบสุขภาพที่สมดุลและยั่งยืน  เพื่อสุขภาพดีและชีวิตที่ยืนยาวของประชาชน"  โดยมียุทธศาสตร์ที่สำคัญคือ 1.ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มีความสำคัญต่อระบบสุขภาพ  2.เสริมสร้างสมรรถนะนักวิจัยด้านสุขภาพ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคต  3.พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยแบบครบวงจร โดยคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง  4.บริหารจัดการงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพได้อย่างยั่งยืน

รวมทั้งมีเป้าหมายและตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรม  อาทิเช่น  การสร้างผลงานวิจัยที่ลดปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุการตาย 3 อันดับแรกของกลุ่มอายุต่างๆ   การนำผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการไปพัฒนาระบบเครือข่ายบริการระดับเขตบริการสุขภาพให้มีความยั่งยืน   การเพิ่มจำนวนนักวิจัยและผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ   การมีระบบสารสนเทศที่บูรณาการงานวิจัย นักวิจัย และเครือข่ายในระบบสุขภาพ

โดยงานวิจัยต่างๆ เน้นการสร้างองค์ความรู้ที่ครอบคลุมทุกมิติในระบบสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็น  ด้านการคลังสุขภาพ  ด้านกำลังคน  ด้านการแพทย์/เทคโนโลยีการแพทย์  ด้านระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ  ด้านโครงสร้างพื้นฐาน  ด้านกฎหมาย / ข้อบังคับ  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพคนไทย ผ่านงานวิจัยต่างๆ ตัวอย่างเช่น  งานวิจัยปฏิรูปบทบาทกระทรวงสาธารณสุขตามนโยบายเขตสุขภาพ  งานวิจัยมุ่งเป้าด้านสุขภาพและชีวเวชศาสตร์สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์  งานวิจัยลดปัจจัยเสี่ยงทางด้านสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การลดสาเหตุการตาย  การวิเคราะห์อัตรากำลังบุคลากรสาธารณสุข  งานวิจัยระบบยา ฯลฯ

ผลผลิตและบริการ

[แก้]

งานวิจัย ผลงานวิจัยของ สวรส. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยไม่มีลิขสิทธิ์ตาม สิทธิ์การเผยแพร่ (CC BY-NC-SA)

วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข เป็นเครื่องมือเผยแพร่วิชาการเพื่อสนับสนุนและยกขีดความสามารถในการผลิตองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยระบบสุขภาพ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบาย นักวิจัย นักวิชาการและบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ เผยแพร่ในรูปแบบดิจิทัล โดยวารสารฯ ปัจจุบันไม่จัดพิมพ์รูปเล่มกระดาษ

ห้องสมุด 100 ปี เสม พริ้งพวงแก้ว จัดเป็นห้องสมุดเฉพาะซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ เอกสารวิจัย งานวิชาการและหนังสือที่น่าสนใจ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ ตั้งอยู่ ณ ชั้น 1 อาคารสุขภาพแห่งชาติ

คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ ศูนย์กลางข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ในระบบสุขภาพ (ปัจจุบันหยุดให้บริการแล้ว) โดยทาง สวรส. ได้พัฒนาเครื่องมือในการช่วยค้นคว้า และเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยงานและองค์กรด้านสุขภาพในประเทศไทยหลายแหล่ง เพื่อให้ค้นหาข้อมูลดังกล่าวได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

สัญลักษณ์องค์กร

[แก้]

แนวคิดการออกแบบตราสัญลักษณ์ของ สวรส.

  1. รูปสามเหลี่ยมเป็นสัญญาลักษณ์แทนสติปัญญา
  2. เส้นที่ประกอบกันเป็นรูปวงรีกลางรูปสามเหลี่ยม มีความหมายเหมือนกับเป็นศูนย์รวมหรือประกายแห่งสติปัญญา
  3. วงรีเป็นสัญญาลักษณ์แทนจักรวาล การวางเรียงซ้อนกันและโอบล้อมรูปสามเหลี่ยมไว้เป็นการแสดงถึงความผสานกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ(สติปัญญา-จักรวาล) และเน้นถึงความกลมกลืนอีกครั้งด้วย ตัวย่อของสถาบันที่เรียงโค้งไปตามฐานรูป
  4. ตัวย่อสถาบันเน้นที่ความแหลมคมของเส้น ซึ่งสะท้อนแสดงถึงจุดมุ่งหมายและการทำงานที่เน้นถึงข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน ในขณะเดียวกัน ลักษณะตัวอักษร และภาพรวมของตรา ก็จะสื่อถึงความก้าวหน้า-ทันสมัย

ผู้อำนวยการ

[แก้]

ผู้อำนวยการ สวรส. ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี ต่อเนื่องได้ไม่เกิน 2 วาระ[1]

ลำดับ ชื่อ-สกุล ผู้อำนวยการ วาระ ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
1 สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ 2 ก่อตั้ง - พ.ศ. 2541
2 วิพุธ พูลเจริญ 2 พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2547
3 ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล - พ.ศ. 2547- พ.ศ. 2549
4 กิตตินันท์ อนรรฆมณี - พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550 รักษาการ
5 พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข 2 พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2556
6 สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล - พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2557
7 ภูษิต ประคองสาย - พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558 รักษาการ
8 พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์ 1 พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2561
9 นพพร ชื่นกลิ่น - พ.ศ. 2561 - ก.ค. 2566
10 จรวยพร ศรีศศลักษณ์ - ก.ค. 2566 - ก.ย. 2566 รักษาการ
11 ศุภกิจ ศิริลักษณ์ - ก.ย. 2566 - ปัจจุบัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เล่ม 109 ตอนที่ 45 หน้าที่ 6 วันที่ 9 เมษายน 2535
  2. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2565 – พ.ศ. 2569 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ. 2566), สืบค้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2567
  3. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘[ลิงก์เสีย], เล่ม ๑๔๑ ตอนที่ ๕๙ ก หน้า ๗๘, ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗
  4. องค์การมหาชนที่จัดตั้งตาม พ.ร.บ. เฉพาะ
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-23. สืบค้นเมื่อ 2019-01-15.
  6. "สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-21. สืบค้นเมื่อ 2019-01-28.
  7. "เว็บไซต์ความร่วมมือภูมิภาคเอเซียการวิจัยโรคติดเชื้ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-21. สืบค้นเมื่อ 2019-01-28.
  8. สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์
  9. ศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย
  10. สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สรท.). "สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย - Thai CaseMix Centre". สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สรท.).
  11. ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย
  12. "สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.)". สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.) (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2024-10-11.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]