มีเทน
มีเทน (Methane) หรือ คาร์บอนเททราไฮไดรด์ (Carbon Tetrahydride) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนพวกแอลเคน สูตรเคมี คือ CH4 เป็นแก๊สไม่มีสี ติดไฟได้ เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของแก๊สธรรมชาติ แก๊สมีเทนอาจได้มาจากการหมักมูลสัตว์และนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงราคาถูก
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
Methane[1] | |||
Systematic IUPAC name
Carbane (never recommended[1]) | |||
ชื่ออื่น
| |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
3DMet | |||
1718732 | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.000.739 | ||
EC Number |
| ||
59 | |||
KEGG | |||
MeSH | Methane | ||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 1971 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
CH4 | |||
มวลโมเลกุล | 16.043 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | แก๊สไม่มีสี | ||
กลิ่น | ไม่มีกลิ่น | ||
ความหนาแน่น | |||
จุดหลอมเหลว | −182.456 องศาเซลเซียส (−296.421 องศาฟาเรนไฮต์; 90.694 เคลวิน)[3] | ||
จุดเดือด | −161.5 องศาเซลเซียส (−258.7 องศาฟาเรนไฮต์; 111.6 เคลวิน)[3] | ||
จุดวิกฤติ (T, P) | 190.56 K (−82.59 °C; −116.66 °F), 4.5992 MPa (45.391 atm) | ||
22.7 mg/L[4] | |||
ความสามารถละลายได้ | ละลายได้ในเอทานอล, อีเทอร์, เบนซีน, โทลูอีน, เมทานอล, แอซีโทน และไม่ละลายในน้ำ | ||
log P | 1.09 | ||
14 nmol/(Pa·kg) | |||
กรด | Methanium | ||
เบส | Methyl anion | ||
−17.4×10−6 cm3/mol[5] | |||
โครงสร้าง | |||
Td | |||
Tetrahedral at carbon atom | |||
0 D | |||
อุณหเคมี[6] | |||
ความจุความร้อน (C)
|
35.7 J/(K·mol) | ||
Std molar
entropy (S⦵298) |
186.3 J/(K·mol) | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−74.6 kJ/mol | ||
พลังงานเสรีกิบส์ (ΔfG⦵)
|
−50.5 kJ/mol | ||
Std enthalpy of
combustion (ΔcH⦵298) |
−891 kJ/mol | ||
ความอันตราย[7] | |||
GHS labelling: | |||
อันตราย | |||
H220 | |||
P210 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | −188 องศาเซลเซียส (−306.4 องศาฟาเรนไฮต์; 85.1 เคลวิน) | ||
537 องศาเซลเซียส (999 องศาฟาเรนไฮต์; 810 เคลวิน) | |||
ขีดจำกัดการระเบิด | 4.4–17% | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
แอลเคนที่เกี่ยวข้อง
|
|||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
|||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
แก๊สมีเทนอาจพบได้ในชั้นถ่านหิน (Coal Bed Methane) โดยจากกระบวนการเกิดถ่านหินทำให้ก๊าซสะสมตัวและกักเก็บอยู่ในช่องว่างในเนื้อถ่านหิน [9]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "Front Matter". Nomenclature of Organic Chemistry : IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge: The Royal Society of Chemistry. 2014. pp. 3–4. doi:10.1039/9781849733069-FP001. ISBN 978-0-85404-182-4.
Methane is a retained name (see P-12.3) that is preferred to the systematic name ‘carbane’, a name never recommended to replace methane, but used to derive the names ‘carbene’ and ‘carbyne’ for the radicals H2C2• and HC3•, respectively.
- ↑ "Gas Encyclopedia". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 26, 2018. สืบค้นเมื่อ November 7, 2013.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 Haynes, p. 3.344
- ↑ Haynes, p. 5.156
- ↑ Haynes, p. 3.578
- ↑ Haynes, pp. 5.26, 5.67
- ↑ "Safety Datasheet, Material Name: Methane" (PDF). US: Metheson Tri-Gas Incorporated. December 4, 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ June 4, 2012. สืบค้นเมื่อ December 4, 2011.
- ↑ NOAA Office of Response and Restoration, US GOV. "METHANE". noaa.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 9, 2019. สืบค้นเมื่อ March 20, 2015.
- ↑ "แก๊สมีเทนในชั้นถ่านหิน (Coal Bed Methane)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-07. สืบค้นเมื่อ 2007-10-07.
แหล่งอ้างอิง
แก้- Haynes, William M., บ.ก. (2016). CRC Handbook of Chemistry and Physics (97th ed.). CRC Press. ISBN 9781498754293.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ มีเทน
- Methane at The Periodic Table of Videos (University of Nottingham)
- International Chemical Safety Card 0291
- Gas (Methane) Hydrates – A New Frontier – United States Geological Survey (archived 6 February 2004)
- Lunsford, Jack H. (2000). "Catalytic conversion of methane to more useful chemicals and fuels: A challenge for the 21st century". Catalysis Today. 63 (2–4): 165–174. doi:10.1016/S0920-5861(00)00456-9.
- CDC – Handbook for Methane Control in Mining (PDF)