ทาส
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ทาสี
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ทาษ
รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากสันสกฤต दास (ทาส) หรือบาลี ทาส
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ทาด | [เสียงสมาส] ทาด-สะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tâat | tâat-sà- |
ราชบัณฑิตยสภา | that | that-sa- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰaːt̚˥˩/(สัมผัส) | /tʰaːt̚˥˩.sa˨˩./ | |
คำพ้องเสียง | ทาษ ธาตุ |
คำนาม
[แก้ไข]ทาส (คำลักษณนาม คน)
- ผู้ที่ขายตัวลงเป็นคนรับใช้หรือที่นายเงินไถ่ค่าตัวมา เรียกว่า ทาสนํ้าเงิน, ผู้ที่เป็นลูกของทาสนํ้าเงิน เรียกว่า ทาสเรือนเบี้ย หรือ ทาสในเรือนเบี้ย, ทาสที่เอาเงินไปซื้อมา เรียกว่า ทาสสินไถ่, ผู้ที่เป็นคนเชลย เรียกว่า ทาสเชลย
- ผู้ที่ยอมตนให้ตกอยู่ในอำนาจสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, ผู้ที่อุทิศตนแก่สิ่งที่เลื่อมใสศรัทธา
- เป็นทาสยาเสพติด
- เป็นทาสความรัก
- เป็นทาสเงิน
- เป็นทาสความรู้
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ผู้ที่ขายตัวลงเป็นคนรับใช้หรือที่นายเงินไถ่ค่าตัวมา
|
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ทาส ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ทาส" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ทาโส | ทาสา |
กรรมการก (ทุติยา) | ทาสํ | ทาเส |
กรณการก (ตติยา) | ทาเสน | ทาเสหิ หรือ ทาเสภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ทาสสฺส หรือ ทาสาย หรือ ทาสตฺถํ | ทาสานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ทาสสฺมา หรือ ทาสมฺหา หรือ ทาสา | ทาเสหิ หรือ ทาเสภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ทาสสฺส | ทาสานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ทาสสฺมิํ หรือ ทาสมฺหิ หรือ ทาเส | ทาเสสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ทาส | ทาสา |
คำพ้องความ
[แก้ไข]ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- ทาสี ญ.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːt̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม คน
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาฝรั่งเศส/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสเปน/t+
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาบาลี/l