ndaeng
หน้าตา
ภาษาจ้วง
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดัง หรือ ดั้ง, ภาษาคำเมือง ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง), ภาษาลาว ດັງ (ดัง), ภาษาไทลื้อ ᦡᧂ (ดัง), ภาษาไทใหญ่ လင်/ၼင် (ลัง/นัง) (ในคำ ၶူႈလင်/ၶူႈၼင် (ขู้ลัง/ขู้นัง)), ภาษาไทใต้คง ᥘᥒ (ลัง), ภาษาอ่ายตน ဒင် (ดง์) หรือ ꩫင် (นง์), ภาษาอาหม 𑜓𑜂𑜫 (ดง์) หรือ 𑜃𑜂𑜫 (นง์), ภาษาปู้อี ndangl
การออกเสียง
[แก้ไข](จ้วงมาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ɗaŋ˨˦/
- เลขวรรณยุกต์: ndaeng1
- การแบ่งพยางค์: ndaeng
- คำอ่านภาษาไทย (ประมาณ): ดังจัตวา
คำนาม
[แก้ไข]ndaeng (อักขรวิธีปี 1957–1982 ƌəŋหมวดหมู่:หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วงหมวดหมู่:หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/l)