ข้ามไปเนื้อหา

แอมโลดิพีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แอมโลดิพีน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าNorvasc, others
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa692044
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: C
  • US: C (ยังไม่ชี้ขาด)
ช่องทางการรับยารับประทาน
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล64 ถึง 90%
การเปลี่ยนแปลงยาตับ
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ30 ถึง 50 ชั่วโมง
การขับออกไต
ตัวบ่งชี้
  • (RS)-3-ethyl 5-methyl 2-[(2-aminoethoxy)methyl]-4-(2-chlorophenyl)-6-methyl-1,4-dihydropyridine-3,5-dicarboxylate
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
PDB ligand
ECHA InfoCard100.102.428
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC20H25ClN2O5
มวลต่อโมล408.879 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
ไครัลลิตีRacemic mixture
  • Clc1ccccc1C2C(=C(/N/C(=C2/C(=O)OCC)COCCN)C)\C(=O)OC
  • InChI=1S/C20H25ClN2O5/c1-4-28-20(25)18-15(11-27-10-9-22)23-12(2)16(19(24)26-3)17(18)13-7-5-6-8-14(13)21/h5-8,17,23H,4,9-11,22H2,1-3H3 checkY
  • Key:HTIQEAQVCYTUBX-UHFFFAOYSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

แอมโลดิพีน (Amlodipine) หรือชื่อทางการค้าคือ นอร์วาสค์ (Norvasc) เป็นยาสามัญสำหรับแก้ความดันโลหิตสูง[1]และโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ[2] ทำงานโดยการไปขยายหลอดเลือดแดง[2] ยานี้ถูกใช้แทนยาในกลุ่มแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ที่อาจก่อให้เกิดภาวะหัวใจวาย และจะถูกใช้ก็ต่อเมื่อยาชนิดอื่นไม่สามารถแก้ความดันโลหิตสูงและอาการปวดเค้นหัวใจได้แล้ว[3] สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีการรับประทานและจะออกฤทธิได้อย่างน้อยที่สุดยาวถึงหนึ่งวัน[2]

ผลข้างเคียงของการใช้แอมโลดิพีนได้แก่ อาการบวมน้ำ, รู้สึกล้า, ปวดท้อง และคลื่นไส้ ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงได้แก่ ใจสั่น, ความดันโลหิตต่ำ หรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายานี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรหรือไม่ สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับตับควรใช้ยานี้ในปริมาณแต่น้อย

แอมโลดิพีนได้รับการจดสิทธิบัตรในปี ค.ศ. 1986 และเริ่มวางจำหน่ายในปี ค.ศ. 1990 เป็นยาที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[4] ปัจจุบันสิทธิบัตรได้สิ้นสุดลงแล้วจึงถือว่าเป็นยาสามัญชนิดหนึ่ง[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Wang, JG (2009). "A combined role of calcium channel blockers and angiotensin receptor blockers in stroke prevention". Vascular health and risk management. 5: 593–605. doi:10.2147/vhrm.s6203. PMID 19688100.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "Amlodipine Besylate". Drugs.com. American Society of Hospital Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 22 July 2016.
  3. The ESC Textbook of Preventive Cardiology: Clinical Practice. Oxford University Press. 2015. p. 261. ISBN 9780199656653. สืบค้นเมื่อ 23 July 2016.
  4. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.