ข้ามไปเนื้อหา

แซ็งปีแยร์และมีเกอลง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาณานิคมโพ้นทะเล
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง

Collectivité territoriale de
Saint-Pierre-et-Miquelon
ธงชาติSaint-Pierre et Miquelon
ธง
ตราแผ่นดินของSaint-Pierre et Miquelon
ตราแผ่นดิน
คำขวัญA Mare Labor
อังกฤษ: "From the Sea, Work"
ที่ตั้งของSaint-Pierre et Miquelon
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
แซ็งปีแยร์
ภาษาราชการฝรั่งเศส
กลุ่มชาติพันธุ์
บาสก์, เบรอตง, นอร์มัน (ชาวประมงฝรั่งเศส)[1]
การปกครองดินแดนในภาวะพึ่งพิงระบบประธานาธิบดี
แอมานุแอล มาครง
• พรีเฟก
ฌ็อง-เรจีส โบรีอุส
• ประธานสภา
สเตฟาน อาร์ตาโน
สภานิติบัญญัติสภาอาณานิคมแห่งแซ็งปีแยร์และมีเกอลง
อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส
• ถูกผนวกเข้ากับสหราชอาณาจักร
30 พฤษภาคม 1814
27 ตุลาคม 1946
17 กรกฎาคม 1976
11 มิถุนายน 1985
28 มีนาคม 2003
พื้นที่
• รวม
242 ตารางกิโลเมตร (93 ตารางไมล์) (208th)
negligible
ประชากร
• July 2009 ประมาณ
7,063[1] (227th)
• สำมะโนประชากร มกราคม ค.ศ. 2006
6,125
29.1 ต่อตารางกิโลเมตร (75.4 ต่อตารางไมล์) (188th)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2003 (ประมาณ)
• รวม
$48.3 ล้าน (226th)
สกุลเงินยูโร () (EUR)
เขตเวลาUTC-3 (PMST)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC-2 (PMDT)
รหัสโทรศัพท์+508
โดเมนบนสุด.pm

อาณานิคมโพ้นทะเลแซ็งปีแยร์และมีเกอลง (ฝรั่งเศส: Collectivité territoriale de Saint-Pierre-et-Miquelon; อังกฤษ: Territorial Collectivity of Saint-Pierre and Miquelon) เป็นดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส ประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือ มีเกาะสำคัญคือ เกาะแซ็งปีแยร์ และเกาะมีเกอลง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา อยู่ห่างจากเกาะนิวฟันด์แลนด์ราว 10 กิโลเมตร มีเมืองหลวงคือ แซ็งปีแยร์ ส่งปลาคอดตากแห้งและแช่แข็งเป็นสินค้าออก มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

อ้างอิง

[แก้]