ข้ามไปเนื้อหา

เอารังคาบาด

พิกัด: 19°53′N 75°19′E / 19.88°N 75.32°E / 19.88; 75.32
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอารังคาบาด
นคร
สมญา: 
เอารังคาบาดตั้งอยู่ในรัฐมหาราษฏระ
เอารังคาบาด
เอารังคาบาด
เอารังคาบาดตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
เอารังคาบาด
เอารังคาบาด
เอารังคาบาดตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
เอารังคาบาด
เอารังคาบาด
พิกัด: 19°53′N 75°19′E / 19.88°N 75.32°E / 19.88; 75.32
ประเทศอินเดีย
รัฐมหาราษฏระ
ภูมิภาคมราฐวาฑา
มณฑลเอารังคาบาด
อำเภอเอารังคาบาด
ก่อตั้งค.ศ. 1610
ผู้ก่อตั้งมาลิก อัมพร (Malik Ambar)
การปกครอง
 • อธิบดีมณฑลPurushottam Bhapkar
 • นายกเทศมนตรีนันทกุมาร โฆเทเล (Nandkumar Ghodele)
พื้นที่
 • นคร139 ตร.กม. (54 ตร.ไมล์)
ความสูง568 เมตร (1,864 ฟุต)
ประชากร
 (2011)[1]
 • นคร1,175,116 คน
 • อันดับอินเดีย: ที่ 32
รัฐมหาราษฏระ: ที่ 6
มราฐวาฑา: ที่ 1
 • ความหนาแน่น8,500 คน/ตร.กม. (22,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล[2]1,593,167 คน
เดมะนิมเอารังคาบาดี (Aurangabadi)
เขตเวลาUTC+5:30 (IST)
PIN431 XXX
รหัสโทรศัพท์ 02400240
ทะเบียนพาหนะMH 20
ภาษาทางการภาษามราฐี ภาษาฮินดี[3]

เอารังคาบาด, ออรังคาบาด หรือ ออรังคาบัด[4] (อังกฤษ: Aurangabad, pronunciation; ฮินดี: औरंगाबाद) เป็นเมืองในรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย เป็นศูนย์กลางการปกครองของอำเภอเอารังคาบาด และเป็นเมืองใหญ่สุดในภูมิภาคมราฐวาฑา[5] และเป็นเขตเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่สี่ของมหาราษฏระ ด้วยประชากร 1,175,116 คน สถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของเมือง เช่น ถ้ำอชันตาและถ้ำเอลโลราซึ่งเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1938 และตั้งอยู่ชานเมืองเอารังคาบาด[6] นอกจากนี้ยังมีถ้ำเอารังคาบาด, ป้อมเดาลตาบาด, ฆฤษเณศวรมนเทียร, มัสยิดจามา, หิมายัตบาฆ, ปัญจักกี และทะเลสาบซาลิม อาลี ในอดีตเอารังคาบาดมี 52 ประตูเมือง จึงเป็นที่มาของสมญานามเมืองแห่งประตูเมือง ("City of Gates") ในปี ค.ศ. 2019 นครอุตสาหกรรมเอารังคาบาด (Aurangabad Industrial City: AURIC) ได้กลายเป็นเมืองอุตสาหกรรมอัจฉริยะโครงการใหม่แห่งแรกของอินเดีย ภายใต้แผนการหลักสมาร์ตซิตีส์มิชชันของประเทศ[7][8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Census of India: Aurangabad". censusindia.gov.in. สืบค้นเมื่อ 1 October 2019.
  2. "Census of India : Provisional Population Totals Paper 2 of 2011 : India (Vol II)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2011. สืบค้นเมื่อ 29 October 2011.
  3. "52nd REPORT OF THE COMMISSIONER FOR LINGUISTIC MINORITIES IN INDIA" (PDF). nclm.nic.in. Ministry of Minority Affairs. p. 108. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 May 2017. สืบค้นเมื่อ 14 January 2019.
  4. สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองมุมไบ ใช้ตัวสะกดนี้ ตามใน เอกสารแนะนำเมือง
  5. Sohoni, Pushkar (2015). Aurangabad with Daulatabad, Khuldabad and Ahmadnagar. Mumbai: Jaico. ISBN 9788184957020.
  6. Gopal, Madan (1990). K.S. Gautam (บ.ก.). India through the ages. Publication Division, Ministry of Information and Broadcasting, Government of India. p. 174.
  7. "India's first industrial integrated smart city set for inauguration". The Times of India. 6 September 2019. สืบค้นเมื่อ 6 September 2019.
  8. "PM Modi opens first greenfield industrial smart city in Aurangabad". India Today. 7 September 2019. สืบค้นเมื่อ 7 September 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]