ข้ามไปเนื้อหา

อเมริกันซามัว

พิกัด: 14°18′S 170°42′W / 14.3°S 170.7°W / -14.3; -170.7
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อเมริกันซามัว

Amerika Sāmoa (ซามัว)
American Samoa (อังกฤษ)
ตราแผ่นดินของอเมริกันซามัว
ตราแผ่นดิน
คำขวัญSamoa, Muamua Le Atua (พระเจ้ามาก่อน)
ที่ตั้งของอเมริกันซามัว
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ปาโกปาโก
ภาษาราชการภาษาซามัวและภาษาอังกฤษ
การปกครองดินแดนของสหรัฐอเมริกา
โจ ไบเดิน
โลโล เลตาลู มาตาลาซี โมลิกา
ดินแดนของสหรัฐอเมริกา
พื้นที่
• รวม
199 ตารางกิโลเมตร (77 ตารางไมล์) (220)
0
ประชากร
• กรกฎาคม 2548 ประมาณ
70,260
353 ต่อตารางกิโลเมตร (914.3 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2543 (ประมาณ)
• รวม
$500 ล้าน (?)
$8000
เอชดีไอ (2015)0.735
สูง
สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD)
เขตเวลาUTC-11
รหัสโทรศัพท์1 684
โดเมนบนสุด.ws

อเมริกันซามัว (อังกฤษ: American Samoa; ซามัว: Amerika Sāmoa, [aˈmɛɾika ˈsaːmʊa]; บางครั้ง Amelika Sāmoa หรือ Sāmoa Amelika) เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ซามัวและอเมริกันซามัวถูกแบ่งแยกโดยส่วนของประเทศซามัวในปัจจุบันเคยอยู่ในการครอบครองของประเทศเยอรมนี ต่อมาก็ได้ถูกครอบครองโดยประเทศนิวซีแลนด์ ส่วนของอเมริกันซามัวก็ได้ถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกา จนถึงปัจจุบัน

ภูมิศาสตร์

[แก้]

ประวัติศาสตร์

[แก้]

ศตวรรษที่ 18:การค้นพบโดยชาวยุโรป

[แก้]
แผนที่หมู่เกาะอเมริกันซามัว ค.ศ. 1896.

มีผู้มาตั้งถิ่นฐานในซามัวมาแล้ว 1000 ปี ก่อนคริสตกาล ซามัวถูกสำรวจโดยชาวยุโรปในคริสตวรรษที่ 18 ใน พ.ศ. 2442 จักรวรรดิเยอรมัน และ สหรัฐอเมริกาได้แบ่งซามัวออกเป็น 2 ส่วน เยอรมนีได้พื้นที่ส่วนใหญ่ของซามัวซึ่งในปัจจุบันนี้คือประเทศซามัวในปัจจุบัน ส่วนกลุ่มเกาะเล็กของซามัวทางตะวันออกตกไปเป็นของอเมริกาคืออเมริกันซามัวในปัจจุบัน

ศตวรรษที่ 19

[แก้]

ต้นศตวรรษที่ 20

[แก้]
เรือรบของจักรวรรดิเยอรมัน, ราชนาวี และ สหรัฐอเมริกา จอดเทียบท่าที่อ่าวอาปีปา ค.ศ. 1899.

ภายใต้การดูแลของสหรัฐ

[แก้]
ท่าเทียบเรือปาโกปาโก และ อู่เรือ.
พลเรือตรี. Benjamin Franklin Tilley, ผู้ว่าการท่านแรก ค.ศ. 1900-1901

สงครามโลกครั้งที่ 1

[แก้]
Cdr. John Martin Poyer ผู้ว่าการคนที่ 12 ค.ศ. 1915-1919[1]

ระหว่างสมัยสงคราม

[แก้]
ขบวนการมาอูอเมริกันซามัว
[แก้]
การผนวกหมู่เกาะสเวน
[แก้]
เที่ยวบินแรกแห่งแปซิฟิกใต้
[แก้]

สงครามโลกครั้งที่ 2 และ สงครามเย็น

[แก้]

ค.ศ. 1951-1999

[แก้]

ศตวรรษที่ 21

[แก้]

แผ่นดินไหว และ ซึนามิ:กันยายน 2009

[แก้]

การเมืองการปกครอง

[แก้]

บริหาร

[แก้]

นิติบัญญัติ

[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง

[แก้]

เศรษฐกิจ

[แก้]

เกาะในเขตตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรแปซิฟิคแห่งนี้ อาจไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันมากนัก แต่กำลังเป็นสวรรค์การท่องเที่ยวทางทะเลแห่งใหม่ของชาวอเมริกัน เพราะธรรมชาติยังอุดมสมบูรณ์ หากคุณรักกิจกรรมทางน้ำและเดินป่า ชื่นชมวัฒนธรรมชาวเกาะ เชื่อขนมกินได้ว่า ทุกบาททุกสตางค์ของค่าใช้จ่ายการเดินทาง จะคุ้มค่ากับทริปเกาะในฝันแห่งนี้แน่นอน

โครงสร้างพื้นฐาน

[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม

[แก้]

คมนาคม

[แก้]

โทรคมนาคม

[แก้]

การศึกษา

[แก้]

สาธารณสุข

[แก้]

สวัสดิการสังคม

[แก้]

ประชากรศาสตร์

[แก้]

เชื้อชาติ

[แก้]

ชาวเกาะโพลินีเซียน 92.9%, ชาวเอเชีย 2.9%, ชนผิวขาว 1.2%, ลูกผสม 2.8%, อื่น ๆ 0.2% ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ส่วนน้อยนับถือนิกายโรมันคาทอลิก

ศาสนา

[แก้]

วัฒนธรรม

[แก้]

วัฒนธรรมมีเหมือนกับประเทศซามัวเพราะเป็นเชื้อชาติพันธุ์เดียวกัน แต่เนื่องจากตกเป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาเป็นเวลานาน ทำให้มีความเป็นอยู่คล้ายชาวอเมริกัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-26. สืบค้นเมื่อ 2015-09-12.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Ellison, Joseph (1938). Opening and Penetration of Foreign Influence in Samoa to 1880. Corvallis: Oregon State College.
  • Sunia, Fofo (1988). The Story of the Legislature of American Samoa. Pago Pago: American Samoa Legislature.
  • Meti, Lauofo (2002). Samoa: The Making of the Constitution. Apia: Government of Samoa.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

ข้อมูลประเทศ

[แก้]

14°18′S 170°42′W / 14.3°S 170.7°W / -14.3; -170.7