ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดอุตรดิตถ์
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง117,782 (เพื่อไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดอุตรดิตถ์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดอุตรดิตถ์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายฟัก ณ สงขลา

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า, อำเภอบ้านโคก และอำเภอพิชัย (เฉพาะตำบลนายางและตำบลนาอิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลับแล, อำเภอตรอน และอำเภอพิชัย (ยกเว้นตำบลนายางและตำบลนาอิน)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า และอำเภอบ้านโคก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลับแล, อำเภอตรอน และอำเภอพิชัย
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์, อำเภอลับแล และอำเภอตรอน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพิชัย, อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า และอำเภอบ้านโคก
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า, อำเภอบ้านโคก และอำเภอพิชัย (เฉพาะตำบลนายางและตำบลนาอิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลับแล, อำเภอตรอน และอำเภอพิชัย (ยกเว้นตำบลนายางและตำบลนาอิน)
3 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายฟัก ณ สงขลา
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายพึ่ง ศรีจันทร์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายสุ่ม ตันติผลาผล
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายพึ่ง ศรีจันทร์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเทพ เกตุพันธุ์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายชิ้น อยู่ถาวร (เสียชีวิต)
นายเทพ เกตุพันธุ์ (แทนนายชิ้น)

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคชาตินิยม
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเทพ เกตุพันธุ์ นายพึ่ง ศรีจันทร์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายสมพงษ์ หาญประเสริฐ นายส่ง ศัลยพงศ์
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายเสริม โลกเลื่อง เรืออากาศตรี บุญยง วัฒนพงศ์

ชุดที่ 11–20; พ.ศ. 2518–2539

[แก้]
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคสยามใหม่
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคสยามปฏิรูป
      พรรคชาติประชาชน
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคกิจประชาคม
      พรรคราษฎร
      พรรคปวงชนชาวไทย
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคประชากรไทย
      พรรคประชากรไทยพรรคเสรีธรรม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายบรรลือ น้อยมณี เรืออากาศตรี บุญยง วัฒนพงศ์ นายเปรม มาลากุล ณ อยุธยา
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 สิบเอก สนิทพงษ์ มุกดาสนิท
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายบรรลือ น้อยมณี เรืออากาศตรี บุญยง วัฒนพงศ์ นายเปรม มาลากุล ณ อยุธยา
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายบรรลือ น้อยมณี นายเชาวลิต สุขสวัสดิ์ นายเปรม มาลากุล ณ อยุธยา
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายอารมณ์ พุ่มพิริยพฤนท์ นายเชาวลิต สุขสวัสดิ์ นายเปรม มาลากุล ณ อยุธยา
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ เรืออากาศตรี บุญยง วัฒนพงศ์ นายเชาวลิต สุขสวัสดิ์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายสุรพล เลี้ยงบำรุง
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายกนก ลิ้มตระกูล
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ นายอนุชาติ บรรจงศุภมิตร
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติพัฒนาพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์
2 นายศรัณย์ ศรัณย์เกตุ นายศรัณย์ ศรัณย์เกตุ
นายวารุจ ศิริวัฒน์
(แทนนายศรัณย์)
3 นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
นายวารุจ ศิริวัฒน์
นายกนก ลิ้มตระกูล

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคเพื่อไทยพรรคเพื่อชาติ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายกนก ลิ้มตระกูล นายศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ ยุบเขต 3
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์ นายวารุจ ศิริวัฒน์ นายรวี เล็กอุทัย

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]