ข้ามไปเนื้อหา

ยือแว็สกือแล

พิกัด: 62°14.5′N 025°44.5′E / 62.2417°N 25.7417°E / 62.2417; 25.7417
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยือแว็สกือแล
เมือง
Jyväskylän kaupunki
Jyväskylä stad
เมืองยือแว็สกือแล
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: จัตุรัส Lutakko, ช่องแคบ Äijälänsalmi, อพาร์ตเมนต์ที่ Lutakko, ลานในใจกลางเมืองยือแว็สกือแล, โบสถ์ประจำเมืองยือแว็สกือแล และโรงไฟฟ้าเก่าแห่ง Vaajakoski
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: จัตุรัส Lutakko, ช่องแคบ Äijälänsalmi, อพาร์ตเมนต์ที่ Lutakko, ลานในใจกลางเมืองยือแว็สกือแล, โบสถ์ประจำเมืองยือแว็สกือแล และโรงไฟฟ้าเก่าแห่ง Vaajakoski
ตราราชการของยือแว็สกือแล
ตราอาร์ม
สมญา: 
เอเธนส์แห่งฟินแลนด์; เมืองหลวงของเพลงแรปฟินแลนด์;[1][2] เมืองหลวงของกีฬาฟินแลนด์[3]
ยือแว็สกือแลตั้งอยู่ในฟินแลนด์
ยือแว็สกือแล
ยือแว็สกือแล
ที่ตั้งของยือแว็สกือแลในประเทศฟินแลนด์
พิกัด: 62°14.5′N 025°44.5′E / 62.2417°N 25.7417°E / 62.2417; 25.7417
ประเทศ ฟินแลนด์
ภูมิภาค ฟินแลนด์กลาง
ภูมิภาคย่อยยือแว็สกือแล
กฎบัตรค.ศ. 1837
การปกครอง
 • ผู้บริหารเมืองTimo Koivisto[4]
พื้นที่
 • เขตเมือง99.25 ตร.กม. (38.32 ตร.ไมล์)
ประชากร
 • เขตเมือง117,974 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง1,188.7 คน/ตร.กม. (3,079 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+02:00 (เวลายุโรปตะวันออก)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+03:00 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก)
อัตราการว่างงาน11.8%
เว็บไซต์www.jyvaskyla.fi

ยือแว็สกือแล (ฟินแลนด์: Jyväskylä, ออกเสียง: [ˈjyʋæsˌkylæ]; ละติน: Granivicus) เป็นเมืองและเทศบาลในประเทศฟินแลนด์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ตรงปลายสุดด้านเหนือของทะเลสาบแปย์แย็นเน (Päijänne) มีภูมิอากาศอบอุ่นในฤดูร้อน และหนาว มีหิมะในฤดูหนาว เมืองเต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมของสถาปนิกที่มีชื่อเสียงชาวฟินแลนด์ อัลวาร์ อาลโต จากข้อมูลเมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 2012 มีประชากร 131,997 คน[5] ทำให้เป็นหนึ่งในเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดในประเทศฟินแลนด์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20[6][7][8] เพราะใน ค.ศ. 1940 มีผู้อาศัยอยู่ในยือแว็สกือแลเพียง 8,000 คน

ภูมิประเทศ

[แก้]

ภูมิอากาศ

[แก้]

ภูมิอากาศในบริเวณนี้จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งหนาวภาคพื้นสมุทร (Dfc)[9]

ข้อมูลภูมิอากาศของท่าอากาศยานยือแว็สกือแล (ปกติใน ค.ศ. 1981-2010, สูงสุดใน ค.ศ. 1959 - ปัจจุบัน)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 7.8
(46)
11.0
(51.8)
16.2
(61.2)
22.6
(72.7)
29.3
(84.7)
31.3
(88.3)
34.2
(93.6)
32.3
(90.1)
25.5
(77.9)
20.1
(68.2)
13.2
(55.8)
9.4
(48.9)
34.2
(93.6)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) −5.1
(22.8)
−4.7
(23.5)
0.4
(32.7)
7.0
(44.6)
14.8
(58.6)
19.0
(66.2)
21.8
(71.2)
19.0
(66.2)
13.0
(55.4)
6.4
(43.5)
0.3
(32.5)
-3.3
(26.1)
7.38
(45.29)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -8.3
(17.1)
-8.5
(16.7)
-3.8
(25.2)
2.2
(36)
8.9
(48)
13.7
(56.7)
16.5
(61.7)
14.1
(57.4)
8.8
(47.8)
3.6
(38.5)
-2.0
(28.4)
-6.2
(20.8)
3.25
(37.85)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −12.0
(10)
−12.7
(9.1)
−8.3
(17.1)
-2.7
(27.1)
2.7
(36.9)
7.9
(46.2)
10.9
(51.6)
9.2
(48.6)
4.7
(40.5)
0.8
(33.4)
−4.5
(23.9)
−9.5
(14.9)
−1.1
(30)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -38.5
(-37.3)
-37.1
(-34.8)
-32.7
(-26.9)
-20.5
(-4.9)
-9.0
(15.8)
-3.3
(26.1)
1.1
(34)
-2.2
(28)
-9.2
(15.4)
-18.8
(-1.8)
-27.2
(-17)
-34.8
(-30.6)
−38.5
(−37.3)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 45
(1.77)
32
(1.26)
36
(1.42)
35
(1.38)
44
(1.73)
67
(2.64)
84
(3.31)
78
(3.07)
55
(2.17)
66
(2.6)
54
(2.13)
47
(1.85)
643
(25.31)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 0.1 mm) 23 18 17 12 13 15 15 16 16 19 22 23 209
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 29 73 126 187 256 247 263 199 120 59 25 14 1,598
แหล่งที่มา 1: FMI climatological normals for Finland 1981-2010[10]
แหล่งที่มา 2: สถิติสูงและต่ำ[11]

ประชากร

[แก้]
คนเดินเท้าในใจกลางเมือง

ประชากร

[แก้]

ยือแว็สกือแลเป็นเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง[6][7][8]

ปี 1838 1850 1860 1900 1939 1952 1960 1970 1990 1997 2010
ประชากรในยือแว็สกือแล 189 มากกว่า 500 มากกว่า 1,000 3,000 10,091 31,504 42,768 59,954 66,431 75,353 130,816

การอพยพ

[แก้]

ใน ค.ศ. 2019 มีชาวต่างชาติอาศัยอยู่ที่ยือแว็สกือแลประมาณ 7,650 คน[12]

กลุ่มชาวต่างชาติที่มีจำนวนมากที่สุด[13]
เชื้อชาติ ประชากร (ค.ศ. 2018)
 รัสเซีย 1,867
 สวีเดน 750
 อัฟกานิสถาน 475
 อิหร่าน 415
 อิรัก 302
 เอสโตเนีย 285
 ไทย 261
 จีน 241
 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 241
 ตุรกี 201

ความสัมพันธ์กับนานาชาติ

[แก้]
สวนสตาวังเงอร์ ใกล้กับใจกลางเมือง ตั้งชื่อตามเมืองแฝดสตาวังเงอร์ของประเทศนอร์เวย์

ยือแว็สกือแลเป็นเมืองสมาชิกของเครือข่ายยูโรทาวน์[14] และเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[15]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Ossi Valpio: "Jyväskylä on Suomen hiphop-pääkaupunki" - Surkkari.fi". Surkkari.fi (ภาษาฟินแลนด์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-12. สืบค้นเมื่อ 2021-04-20.
  2. "Suomiräpin pääkaupungissa kuplii pinnan alla – ainakin nämä tulokkaat kannattaa painaa mieleen". Klangi (ภาษาฟินแลนด์). 2019-09-02. สืบค้นเมื่อ 2021-04-20.
  3. "16 reasons why Jyväskylä is the Capital of Sport in Finland". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-30. สืบค้นเมื่อ 2021-12-24.
  4. Timo Koivistosta Jyväskylän uusi kaupunginjohtaja Yle. 10 Nov 2014. (ในภาษาฟินแลนด์)
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-01. สืบค้นเมื่อ 2012-04-07.
  6. 6.0 6.1 "A short history of Jyväskylä". City of Jyväskylä. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2011-12-02.
  7. 7.0 7.1 "Jyväskylän kaupungin elinkeinoelämän vaikuttavuus 1990-luvulla" (PDF). University of Jyväskylä.
  8. 8.0 8.1 "Mouvement de la Population de Finlande en 1939" (PDF). Official Finnish population statistics 1939. Finnish Government.
  9. "Jyvaskyla, Finland Köppen Climate Classification (Weatherbase)". Weatherbase. สืบค้นเมื่อ 2019-03-03.
  10. "FMI normals 1981-2010" (PDF). fmi.fi. สืบค้นเมื่อ 26 April 2016.
  11. "FMI open data". FMI. สืบค้นเมื่อ 30 August 2017.
  12. http://pxnet2.stat.fi/PXWeb/pxweb/fi/StatFin/StatFin__vrm__vaerak/statfin_vaerak_pxt_11rv.px/table/tableViewLayout1/. สืบค้นเมื่อ 17 November 2020. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)[ลิงก์เสีย]
  13. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-19. สืบค้นเมื่อ 2021-12-24.
  14. "Eurotowns".
  15. "Twin cities". City of Jyväskylä. สืบค้นเมื่อ 21 August 2019.

วรรณกรรม

[แก้]
ประวัติศาสตร์
  • Kokko, Marja (2007). Jyväskylän kaupungin historia 1965–2007 (ภาษาฟินแลนด์). Helsinki: City of Jyväskylä. ISBN 978-952-5332-96-4.
  • Tommila, Päiviö (1970). Jyväskylän kaupungin historia 1837–1965 (ภาษาฟินแลนด์). Vol. II. Jyväskylä: City of Jyväskylä. ISBN 951-95011-0-X.
  • Tommila, Päiviö (1972). Jyväskylän kaupungin historia 1837–1965 (ภาษาฟินแลนด์). Vol. I. Jyväskylä: City of Jyväskylä. ISBN 951-95011-2-6.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]