มะมะตา พยานาร์จี
มะมะตา พยานาร์จี | |
---|---|
มะมะตา เมื่อปี 2018 | |
ผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตก คนที่ 8 | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 | |
ผู้ว่าการ | |
Cabinet | |
ก่อนหน้า | พุทธาเทพ ภัตตาจารย์ |
สภาชิกสภานิติบัญญัติรัฐเบงกอลตะวันตก | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 3 ตุลาคม ค.ศ. 2021 | |
ก่อนหน้า | โสวันเทพ จัตโตปาธยาย |
เขตเลือกตั้ง | ภาพานีปุระ |
คะแนนเสียง | 58,835[1][2][3] |
ดำรงตำแหน่ง 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 – 2 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 | |
ก่อนหน้า | สุภรรต พักษี |
ถัดไป | โสวันเทพ จัตโตปาธยาย |
เขตเลือกตั้ง | ภาพานิปุระ |
คะแนนเสียง | 54,213 (2011)[4] |
ประธานพรรคออลอินเดียตฤณมูล | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 1 มกราคม ค.ศ. 1998 | |
ก่อนหน้า | ประเดิมตำแหน่ง |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | [5][6][7] กัลกัตตา รัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย | 5 มกราคม ค.ศ. 1955
เชื้อชาติ | อินเดีย |
พรรคการเมือง | ออลอินเดียตฤณมูล (1998 – ปัจจุบัน) |
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | คองเกรสแห่งชาติอินเดีย (ถึงปี 1998) |
บุพการี | ปรมิเลศวร พยานาร์จี (บิดา) คเยตรี เทวี (มารดา) |
ญาติ | อภิเษก พยานาร์จี (หลาน) |
ที่อยู่อาศัย | โกลกาตา |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยโกลกาตา (BA, MA, LL.B.) |
ลายมือชื่อ | |
เว็บไซต์ | AITC official |
ชื่อเล่น | Didi (แปลว่า พี่สาว) |
ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2011 ที่มา: [[1] [2]] |
มะมะตา พยานาร์จี (อักษรโรมัน: Mamata Banerjee, แม่แบบ:IPA-bn) หรือชื่อเต็ม มะมะตา พันทโยปาธยาย (เบงกอล: মমতা বন্দ্যোপাধ্যায়, เกิด 5 มกราคม 1995) เป็นนักการเมืองชาวอินเดีย ผู้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตก คนที่แปดและคนปัจจุบัน เธอดำรงตำแหน่งมาสามวาระ นับตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2011 และเป็นสตรีคนแรกในตำแหน่ง มะมะตาเป็นผู้กอ่ตั้งพรรคออลอินเดียตฤณมูล (AITC หรือ TMC) ในปี 1998 โดยแยกมาจากพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย ผู้คนมักเรียกเธอว่า 'Didi' (แปลว่า "พี่สาว" เป็นภาษาเบงกอล)[8][9]
ก่อนหน้า เธอยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกิจการรถไฟ ที่เธอเป็นสตรีคนแรกในตำแหน่ง[10] และเป็นสตรีคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกิจการถ่านหิน, รัฐมนตรีกรมพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, รัฐมนตรีกิจการเยาวชนและกีฬา, รัฐมนตรีกิจการสตรีและการพัฒนาเด็ก ในคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลอินเดีย[11] เธอขึ้นมาสู่ความนิยมหลังออกมรต่อต้านนโยบายยึดครองที่ดินเพื่อขยายอุตสาหกรรมของรัฐบาลรัฐที่ในเวลานั้นนำโดยผู้นำคอมมิวนิสต์ในสิงคูร์[12] ในการเลือกตั้งสภานิติบัญญัติรัฐ ปี 2011 เธอชนะถล่มทลาย และเอาชนะรัฐบาลแนวหน้าฝ่ายซ้ายของพรรคคอมมิวนิสต์อินเดียไปได้[13][14][15]
เธอเป็นสมาชิดของสภานิติบัญญัติรัฐเบงกอลตะวันตกจากเขตเลือกตั้งภาพานิปุระ ตั้งแต่ปี 2011 ถึง 2021 และเคยลงสมัครในสภานันทิครมแต่แพ้ให้กับผู้สมัครพรรค BJP สุเวนทุ อาธิการี ในการเลือกตั้งปี 2021[16]กระนั้น พรรคของเฑอยังคงชนะเสียงส่วนใหญ่อยู่ดี[17]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Election Commission of India". results.eci.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2021.
- ↑ "Election Commission of India". results.eci.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2021.
- ↑ "Election Commission of India". results.eci.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2021.
- ↑ "Bhowanipore bypoll: Mamata Banerjee breaks her own record". The Telegraph. 4 October 2021. สืบค้นเมื่อ 4 October 2021.
- ↑ "Mamata Banerjee's Biodata in Lok Sabha's Document". loksabha.nic.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 May 2012.
- ↑ "Mamata Banerjee five years younger than official records". The Times of India. 26 January 2012. สืบค้นเมื่อ 17 September 2021.
- ↑ "Mamata is 5 years younger than official age". Business Line. 15 November 2017. สืบค้นเมื่อ 17 September 2021.
- ↑ "Mamata Banerjee's hard-hitting poem targets PM Modi's demonetisation decision, but fails to woo Netizens". The Indian Express (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 12 November 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2017. สืบค้นเมื่อ 7 October 2017.
- ↑ Roy, Sandip (17 October 2014). "The 1.8 crore question: Is Mamata Banerjee India's most underrated artist?". Firstpost (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2017. สืบค้นเมื่อ 7 October 2017.
- ↑ "Did You Know? Mamata Banerjee was India's first-ever Sports Minister". The Bridge. 4 March 2020. สืบค้นเมื่อ 9 December 2021.
- ↑ "Detailed Profile=Km. Mamata Banerjee". Government of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 August 2010. สืบค้นเมื่อ 11 August 2010.
- ↑ Yardley, Jim (14 January 2011). "The Eye of an Indian Hurricane, Eager to Topple a Political Establishment". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2012. สืบค้นเมื่อ 14 January 2011.
- ↑ "India: Mamata Banerjee routs communists in West Bengal". BBC News. 13 May 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2011. สืบค้นเมื่อ 14 May 2011.
- ↑ Achin, Kurt (11 May 2011). "India's West Bengal Set to End 34 Years of Communist Rule". VOA. สืบค้นเมื่อ 9 December 2021.
- ↑ Biswas, Soutik (15 April 2011). "The woman taking on India's communists". BBC World News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2011. สืบค้นเมื่อ 15 April 2011.
- ↑ "Nandigram election result 2021: Suvendu Adhikari beats Mamata by 1736 votes". The Times of India. 2 May 2021. สืบค้นเมื่อ 7 May 2021.
- ↑ "Trinamool Congress wins big in Bengal and BJP scores less than half of what it aimed for". Business Insider India. 3 May 2021. สืบค้นเมื่อ 2 August 2021.