ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
ผู้จัดยูฟ่า
ก่อตั้ง1982; 42 ปีที่แล้ว (1982)
ภูมิภาคยุโรป
จำนวนทีม16 (รอบสุดท้าย)
52 (เข้าชิง)
ผ่านเข้าไปเล่นในWomen's Finalissima
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติอังกฤษ อังกฤษ (สมัยที่ 1)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (8 สมัย)
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2025

ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (อังกฤษ: UEFA Women's European Championship; ชื่อเดิม: ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปสำหรับผู้หญิง; European Competition for Women's Football) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปสำหรับผู้หญิงในวงการฟุตบอล เดิมแข่งกันทั้งหมด 4 ทีม และได้พัฒนามาเป็น 8 ทีม 12 ทีม ตามลำดับ และเพิ่มเป็น 16 ทีมในปี 2017 ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยแชมป์มากที่สุดได้แก่ทีมชาติเยอรมนี

ประวัติ

[แก้]

[1] ในเบอร์ลินตะวันตกเมื่อ ค.ศ 1957 สมาคมฟุตบอลสตรีนานาชาติจัดการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรปขึ้น[2][3] โดยมีสี่ทีมที่เข้าเล่น ได้แก่ เยอรมนีตะวันตก เนเธอร์แลนด์ ออสเตรเลีย และอังกฤษที่เป็นผู้ชนะในครั้งนี้ การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่Poststadion[2][3] ในเวลานั้นทีมฟุตบอลหญิงถูกห้ามอย่างเป็นทางการจากสมาคมฟุตบอลเยอรมัน ซึ่งเป็นข้อห้ามที่ถูกท้าทายอย่างกว้างขวาง[4]

วิธีการแข่งขัน

[แก้]

คัดเลือกกันโดยหาแชมป์และรองแชมป์กลุ่มในรอบคัดเลือก (รองแชมป์ที่ดีที่สุดหกทีม) เพลย์ออฟสองทีม แล้วนำผู้ชนะเพลย์ออฟมาแข่งกับทีมอื่นๆ เจ้าภาพหนึ่งทีม

ผลการแข่งขัน

[แก้]
ครั้ง ปี เจ้าภาพ นัดชิง ชิงที่สาม จำนวนทีม
แชมป์ ผลการแข่งขัน รองแชมป์ อันดับสาม ผล อันดับสี่
1 1984 อังกฤษ อิตาลี เดนมาร์ก สวีเดน

ไม่มีเจ้าภาพ


สวีเดน
1–0
0–1

(ดวลลูกโทษ 4–3)

อังกฤษ
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก และ ธงชาติอิตาลี อิตาลี 4
2 1987  นอร์เวย์
นอร์เวย์
2–1
สวีเดน

อิตาลี
2–1
อังกฤษ
4
3 1989  เยอรมนีตะวันตก
เยอรมนีตะวันตก
4–1
นอร์เวย์

สวีเดน
2–1
(ต่อเวลา)

อิตาลี
4
4 1991  เดนมาร์ก
เยอรมนี
3–1
(ต่อเวลา)

นอร์เวย์

เดนมาร์ก
2–1
(ต่อเวลา)

อิตาลี
4
5 1993  อิตาลี
นอร์เวย์
1–0
อิตาลี

เดนมาร์ก
3–1
เยอรมนี
4
6 1995 อังกฤษ เยอรมนี นอร์เวย์ สวีเดน

ไม่มีเจ้าภาพ


เยอรมนี
3–2
สวีเดน
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ และ ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 4
7 1997  นอร์เวย์
 สวีเดน

เยอรมนี
2–0
อิตาลี
ธงชาติสเปน สเปน และ ธงชาติสวีเดน สวีเดน 8
8 2001  เยอรมนี
เยอรมนี
1–0
(ต่อเวลา)

สวีเดน
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก และ ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 8
9 2005  อังกฤษ
เยอรมนี
3–1
นอร์เวย์
ธงชาติฟินแลนด์ ฟินแลนด์ และ ธงชาติสวีเดน สวีเดน 8
10 2009  ฟินแลนด์
เยอรมนี
6–2
อังกฤษ
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ และ ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 12
11 2013  สวีเดน
เยอรมนี
1–0
นอร์เวย์
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก และ ธงชาติสวีเดน สวีเดน 12
12 2017  เนเธอร์แลนด์
เนเธอร์แลนด์
4–2
เดนมาร์ก
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย และ ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 16
13 2022  อังกฤษ
อังกฤษ
2–1
(ต่อเวลา)

เยอรมนี
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส และ ธงชาติสวีเดน สวีเดน 16
14 2025  สวิตเซอร์แลนด์ 16

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]
ลำดับที่ทีมชาติทองเงินทองแดงรวม
1ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี8109
2ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์2439
3ธงชาติสวีเดน สวีเดน1359
4ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ1225
5ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์1012
6ธงชาติอิตาลี อิตาลี0224
7ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก0156
8ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส0011
ธงชาติฟินแลนด์ ฟินแลนด์0011
ธงชาติสเปน สเปน0011
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย0011
รวม (11 ทีมชาติ)13132248

อ้างอิง

[แก้]
  1. Skillen, Fiona; Byrne, Helena; Carrier, John; James, Gary (27 Jan 2022). "A comparative analysis of the 1921 English Football Association ban on women's football in Britain and Ireland". Sport in History. 42 (1): 49–75. doi:10.1080/17460263.2021.2025415. S2CID 246409158.
  2. 2.0 2.1 "Damenfußball in der Verbotszeit [Ladies' football in the banned era]". BPB. 4 Sep 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 Feb 2022.
  3. 3.0 3.1 "Women's european football championship scene from match germany (GFR) against England in Berlin (West-Berlin) . final result 0:4 05.Nov. 1957". Getty Images.
  4. "Frauenfußball-Verbot 1955 [Women's football ban 1955]". Deutschlandfunk. 30 July 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]