นอยส์ร็อก
หน้าตา
นอยส์ร็อก | |
---|---|
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ | ดนตรีนอยส์, พังก์ร็อก, เอ็กซ์เปอร์ริเมนทอลร็อก, การาจร็อก, อาว็อง-การ์ด, โนเวฟ, ฮาร์ดร็อก, เคราต์ร็อก, ไซเคเดลิกร็อก, อาว็อง-การ์ดแจ๊ส |
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | ปลายทศวรรษที่ 1970 สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย |
เครื่องบรรเลงสามัญ | เสียงร้อง, กีตาร์ไฟฟ้า, เบส, กลอง, อิเล็กทรอนิกส์ |
รูปแบบอนุพันธุ์ | ชูเกรซิง, อินดัสเทรียลร็อก, ไกรนด์คอร์, พาวเวอร์ไวโอเลนซ์, ครัสต์ฟังก์, แมธร็อก, สลัดจ์เมทัล |
แนวประสาน | |
นอยส์ป็อป | |
ทัศนียภาพในระดับภูมิภาค | |
ญี่ปุ่น, พรอวิเดนซ์ (รัฐโรดไอแลนด์) | |
หัวข้ออื่น ๆ | |
ออลเทอร์นาทิฟเมทัล กรันจ์ โพสต์ฮาร์ดคอร์ |
นอยส์ร็อก (อังกฤษ: noise rock) เป็นแนวเพลงย่อยของเอ็กซ์เพอร์ริเมนทัลร็อก[1] ที่ใช้องค์ประกอบเสียงนอยส์ ซึ่งเกิดจากพังก์ร็อกในช่วงยุค 1980[2][3] ได้รับอิทธิพลจาก โนเวฟ มินิมอล อินดัสเทรียล และ นิวยอร์กฮาร์ดคอร์[4] ศิลปินมักจะเน้นใช้เสียงแตกในระดับสุดขีดผ่านการใช้กีตาร์ไฟฟ้าและใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์น้อยชิ้น เพื่อสร้างเสียงรบกวนหรือเป็นส่วนหนึ่งในการทำเพลง[2]
ศิลปินเชื่อมโยงกับนอยส์ร็อก เช่น โซนิกยูท ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่ตัวแทนของนอยส์ร็อก แต่พวกเขาช่วยทำให้นอยส์ร็อกเป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้ฟังเพลงออลเทอร์นาทิฟร็อก โดยผสมผสานท่วงทำนองเข้ากับเนื้อเสียง ซึ่งเป็นรากฐานให้วงอื่นในเวลาต่อมา[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Osborn, Brad (October 2011). "Understanding Through-Composition in Post-Rock, Math-Metal, and other Post-Millennial Rock Genres*". Music Theory Online. 17 (3).
- ↑ 2.0 2.1 2.2 "Noise Rock". AllMusic. สืบค้นเมื่อ March 11, 2017.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อTreblezine
- ↑ Blush 2016, p. 266.