กรดอาร์เซนัส
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
กรดอาร์โซรัส (Arsorous acid)
| |
ชื่ออื่น
กรดอาร์เซเนียส (Arsenious acid)
อาร์เซนิกออกไซด์ (Arsenic oxide) | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
เคมสไปเดอร์ | |
ดรักแบงก์ | |
ผับเคม CID
|
|
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
H3AsO3 | |
มวลโมเลกุล | 125.94 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ปรากฏในรูปสารละลายน้ำเท่านั้น |
ความอันตราย | |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |
อันตรายหลัก
|
สารพิษ, สารกัดกร่อน |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กรดอาร์เซนัส (อังกฤษ: arsenous acid) มีสูตรทางเคมีว่า H3AsO3 เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่ประกอบด้วยสารหนูและไฮดรอกไซด์ไอออน ปรากฏในสภาพสารละลายเท่านั้น ยังไม่สามารถทำให้อยู่ในสภาพบริสุทธิ์ได้[1] เป็นสารละลายไม่มีสี มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน เมื่อทำปฏิกิริยากับเบสจะได้เกลืออาร์เซไนต์ กรดอาร์เซนัสเป็นสารประกอบของสารหนูที่มีพิษและเป็นสารก่อมะเร็ง ทั้งยังมีฤทธิ์กัดกร่อนอีกด้วย
กรดอาร์เซนัสสามารถเตรียมได้โดยการละลายอาร์เซนิกไตรออกไซด์ (As2O3) ในน้ำ (ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส) ดังสมการ
หรืออาจเตรียมได้โดยการละลายอาร์เซนิกไตรคลอไรด์ (AsCl3) ในน้ำ ดังสมการ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ King, R. Bruce "(ed.)" (1994). Encyclopedia of Inorganic Chemistry. Chichester: John Wiley & Sons.