ข้ามไปเนื้อหา

จักรพรรดินิงเก็ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(ต่าง) ←รุ่นเก่ากว่านี้ | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นที่ใหม่กว่า → (ต่าง)
จักรพรรดินิงเก็ง
仁賢天皇
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ครองราชย์4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 488 – 9 กันยายน ค.ศ. 498 (ตามธรรมเนียม)[1]
ก่อนหน้าเค็นโซ
ถัดไปบูเร็ตสึ
พระราชสมภพค.ศ. 449
ประเทศญี่ปุ่น
สวรรคต9 กันยายน ค.ศ. 498 (48–49 พรรษา)
เท็นริ ประเทศญี่ปุ่น
ฝังพระศพฮันยู โนะ ซากาโมโตะ โนะ มิซาซางิ (ญี่ปุ่น: 埴生坂本陵โรมาจิHanyū no Sakamoto no misasagi; โอซากะ)
คู่อภิเษกคาซูงะ โนะ โออิรัตสึเมะ
พระราชบุตร
กับพระองค์อื่น ๆ...
จักรพรรดิบูเร็ตสึ
พระสมัญญานาม
ชิโงแบบจีน:
จักรพรรดินิงเก็ง (仁賢天皇)

ชิโงแบบญี่ปุ่น:
โอเกะ โนะ ซูเมรามิโกโตะ (億計天皇)
ราชสกุลราชวงศ์ญี่ปุ่น
พระราชบิดาอิจิโนเบะ โนะ โอชิวะ
พระราชมารดาวาเอะ-ฮิเมะ

จักรพรรดินิงเก็ง (ญี่ปุ่น: 仁賢天皇โรมาจิNinken-tennō; ค.ศ. 449 – 9 กันยายน ค.ศ. 498) เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นในตำนานองค์ที่ 24[2] ตามลำดับการสืบราชสันตติวงศ์แบบดั้งเดิม[3] แม้ไม่สามารถระบุวันที่แน่นอนเกี่ยวกับพระชนม์ชีพหรือรัชสมัยของจักรพรรดิพระองค์นี้ได้ แต่โดยทั่วไปถือว่าพระองค์ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 488 ถึง 9 กันยายน ค.ศ. 498[4]

เรื่องราวในตำนาน

[แก้]

เมื่อทรงพระเยาว์ พระองค์รู้จักกันในพระนาม เจ้าชายโอเกะ (ญี่ปุ่น: 億計) โอเกะกับเจ้าชายโวเกะ พระอนุชา ได้รับการยกระดับให้มีความโดดเด่นมากขึ้นเมื่อจักรพรรดิเซเนสวรรคตโดยไม่มีรัชทายาท กล่าวกันว่าทั้งสองเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิริจู ทั้งสองขึ้นครองราชย์ในฐานะรัชทายาทรับเลี้ยงของเซเน แม้ว่ายังไม่เป็นที่กระจ่างว่าทั้งสอง "พบตัว" ตอนที่เซเนยังมีชีวิตอยู่หรือหลังจากนั้น[5]

พระอนุชาของโอเกะ ผู้ที่รู้จักด้วยพระนามหลังสวรรคตเป็นจักรพรรดิเค็นโซ ขึ้นครองราชย์ก่อนพระเชษฐา ลำดับที่ไม่ปกตินี้เป็นไปตามข้อตกลงที่พี่น้องทั้งสองได้ทำไว้[6]

รัชสมัย

[แก้]

พระมเหสีและพระราชโอรสธิดา

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Genealogy of the Emperors of Japan" at Kunaicho.go.jp; retrieved 2013-8-30.
  2. Imperial Household Agency (Kunaichō): 仁賢天皇 (24); retrieved 2013-8-30.
  3. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, p. 30;Brown, Delmer M. (1979). Gukanshō, p. 259–260; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki, p. 117.
  4. Ponsonby-Fane, Richard. (1959). The Imperial House of Japan, p. 42.
  5. Titsingh, p. 29.
  6. Titsingh, pp. 29–30.

ข้อมูล

[แก้]
  • Aston, William George. (1896). Nihongi: Chronicles of Japan from the Earliest Times to A.D. 697. London: Kegan Paul, Trench, Trubner. OCLC 448337491
  • Brown, Delmer M. and Ichirō Ishida, eds. (1979). Gukanshō: The Future and the Past. Berkeley: University of California Press. ISBN 978-0-520-03460-0; OCLC 251325323
  • Ponsonby-Fane, Richard Arthur Brabazon. (1959). The Imperial House of Japan. Kyoto: Ponsonby Memorial Society. OCLC 194887
  • Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Ōdai Ichiran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691
  • Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki: A Chronicle of Gods and Sovereigns. New York: Columbia University Press. ISBN 978-0-231-04940-5; OCLC 59145842