ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อูงายาฟูกิอาเอซุ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox deity | type = ชินโต | image = File:Ugaya otokowa.png | birth_place = ญี่ปุ่น | birth_date = 735 ปีก่อน ค.ศ. | death_date = 640 ปีก่อน ค.ศ. (95 พรรษา) | death_place = ประเทศญี่ปุ่น | consort = ทามาโยริ-ฮิเมะ | parents = โฮ...
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560 ลิงก์แก้ความกำกวม
 
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:54, 29 พฤศจิกายน 2567

อูงายาฟูกิอาเอซุ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด735 ปีก่อน ค.ศ.
เสียชีวิต640 ปีก่อน ค.ศ. (95 พรรษา)
คู่ครองทามาโยริ-ฮิเมะ
บุตร - ธิดา
บิดา-มารดาโฮโอริ (พระบิดา)
โทโยตามะ-ฮิเมะ (พระมารดา)

อูงายาฟูกิอาเอซุ โนะ มิโกโตะ (ญี่ปุ่น: 鵜葺草葺不合命โรมาจิUgayafukiaezu no Mikoto)[1] เป็นคามิชินโต และเป็นพระราชบิดาในจักรพรรดิจิมมุ จักรพรรดิองค์แรกของญี่ปุ่นตามเทพปกรณัมญี่ปุ่น[2]

การตั้งชื่อและเรื่องราว

[แก้]
ภาพวาดใน ค.ศ. 1886 แสดงโทโยตามะ-ฮิเมะให้กำเนิดอูงายาฟูกิอาเอซุด้วยการเปลี่ยนตนเองเป็นวานิ

ในโคจิกิ พระองค์มีนามว่า อามัตสึฮิโกะ ฮิโกะ นางิซาตาเกะ อูงายาฟูกิอาเอซุ โนะ มิโกโตะ (ญี่ปุ่น: 天津日高日子波限建鵜葺草葺不合命โรมาจิAmatsuhiko Hiko Nagisatake Ugayafukiaezu no Mikoto)[1] ส่วนนิฮงโชกิระบุเป็น ฮิโกะ นางิซาตาเกะ อูงายาฟูกิอาเอซุ โนะ มิโกโตะ (ญี่ปุ่น: 彦波瀲武鸕鶿草葺不合尊โรมาจิHiko Nagisatake Ugayafukiaezu no Mikoto)

อูงายาฟูกิอาเอซุเป็นพระโอรสในโฮโอริ บุตรในนินิงิ โนะ มิโกโตะ ผู้ถูกอามาเตราซุส่งลงมาปกครองพื้นพิภพ (อาชิฮาระ โนะ นากัตสึกูนิ; เชื่อว่าเทียบเท่าประเทศญี่ปุ่น) กับโทโยตามะ-ฮิเมะ ธิดาในรีวจิง คามิมังกรแห่งทะเล[2]

แม้ว่าโทโยตามะ-ฮิเมะทรงตั้งครรภ์ที่พระราชวังใต้ทะเลแห่งรีวงู-โจ พระนางเลือกที่จะไม่ให้กำเนิดลูกในมหาสมุทรและตัดสินพระทัยมุ่งหน้าสู่ชายฝั่ง

พงศาวลี

[แก้]

อูงายาฟูกิอาเอซุมีชีวิตอยู่ในช่วงสามรุ่นแห่งฮีวงะ ซึ่งเป็นช่วงเวลาระหว่างเท็นซนโคริงถึงการเดินทางไปตะวันออกของจิมมุ[3]

 
 
 
 
 
 
 
 
 
อามาเตราซุ[4]
 
ทากามิมูซูบิ[5][6][7]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
อาเมะ โนะ โอชิโฮมิมิ[4]
 
ทากูฮาดาจิจิ-ฮิเมะ[5][6][7][8][9][10]
 
 
โอยามัตสึมิ[11][12]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
นินิงิ โนะ มิโกโตะ[8][9][10][4][13]
(天孫)
 
 
 
 
โคโนฮานาซากูยะ-ฮิเมะ[11][12]
 
 
วาตัตสึมิ[14][15][16][17]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
โฮเดริ[11][12][18]
 
โฮซูเซริ[11][12]
(海幸彦)
 
 
 
 
 
 
โฮโอริ[11][12][13]
(山幸彦)
 
โทโยตามะ-ฮิเมะ[14]
 
 
 
 
อุตสึชิฮิกานาซากุ [ja][15][16][17][19]
 
ฟูรูตามะ-โนะ-มิโกโตะ [ja]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เท็นโซริ โนะ มิโกโตะ [ja][18]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
อูงายาฟูกิอาเอซุ[13][20]
 
 
ทามาโยริ-ฮิเมะ[14]ชาวอาซูมิ[19]
 
ตระกูลโอวาริ [ja]
ตระกูลยามาโตะ)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ชาวฮายาโตะ[18]
 
 
 
 
 
 
อิตสึเซะ[20]อินาฮิ[20]มิเกริ[20]
 
จิมมุ[20]
 
อาฮิรัตสึ-ฮิเมะ[21]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ราชวงศ์ญี่ปุ่น
 
ทางิชิมิมิ[22][23][24][21]
  • ฉากหลังแดงคือเพศหญิง
  • ฉากหลังเขียวคือกลุ่ม
  • อักษรตัวหนาคือสามรุ่นแห่งฮีวงะ

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Ō no Yasumaro; Heldt, Gustav (2014). The Kojiki : an account of ancient matters. ISBN 9780231163897.
  2. 2.0 2.1 "鵜葺草葺不合命" [Ugayafukiaezu]. Kokushi Daijiten (ภาษาญี่ปุ่น). Tokyo: Shogakukan. 2012. OCLC 683276033. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-25. สืบค้นเมื่อ 2012-12-04.
  3. "みやざきの神話と伝承101:概説". 2021-08-04. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2021. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
  4. 4.0 4.1 4.2 Borgen, Robert; Ury, Marian (April 1990). "Readable Japanese Mythology: Selections from Nihon shoki and Kojiki" (PDF). The Journal of the Association of Teachers of Japanese. American Association of Teachers of Japanese. 24 (1): 61–97. doi:10.2307/489230. JSTOR 489230. สืบค้นเมื่อ 12 April 2020.
  5. 5.0 5.1 "万幡豊秋津師比売命 – 國學院大學 古典文化学事業". kojiki.kokugakuin.ac.jp. สืบค้นเมื่อ 2023-01-17.
  6. 6.0 6.1 "Encyclopedia of Shinto - Home : Kami in Classic Texts : Futodama". eos.kokugakuin.ac.jp. สืบค้นเมื่อ 2020-11-07.
  7. 7.0 7.1 https://archive.today/20230406174104/https://d-museum.kokugakuin.ac.jp/eos/detail/?id=9716
  8. 8.0 8.1 "タクハタチヂヒメ". nihonsinwa.com (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2023-01-17.
  9. 9.0 9.1 "栲幡千千姫命(たくはたちぢひめのみこと)ご利益と神社". xn--u9ju32nb2az79btea.asia (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2023-01-17.
  10. 10.0 10.1 "Ninigi". Mythopedia (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-04-06.
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 Nihongi: Chronicles of Japan from the Earliest Times to A.D. 697, translated from the original Chinese and Japanese by William George Aston. Book II, page 73. Tuttle Publishing. Tra edition (July 2005). First edition published 1972. ISBN 978-0-8048-3674-6
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 "According to the 'Kojiki', the great 8th century A.D. compilation of Japanese mythology, Konohana Sakuya-hime married a god who grew suspicious of her when she became pregnant shortly after their wedding. To prove her fidelity to her husband, she entered a benign bower and miraculously gave birth to a son, unscathed by the surrounding flames. The fire ceremony at Fuji-Yyoshida recalls this story as a means of protecting the town from fire and promoting easy childbirth among women."
  13. 13.0 13.1 13.2 "みやざきの神話と伝承101:概説". 2021-08-04. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2021. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
  14. 14.0 14.1 14.2 Akima, Toshio (1993). "The Origins of the Grand Shrine of Ise and the Cult of the Sun Goddess Amaterasu Ōmikami". Japan Review. 4 (4): 143. ISSN 0915-0986. JSTOR 25790929.
  15. 15.0 15.1 "Explore Azumino! - Hotaka Shrine". Explore Azumino! (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). Japan Tourism Agency. สืบค้นเมื่อ 2023-12-06.
  16. 16.0 16.1 https://www.mlit.go.jp/tagengo-db/common/001562761.pdf
  17. 17.0 17.1 "Mt. Hotaka also have deities enshrined, and these deities are as their tutelaries : JINJA-GAKU 3 | HIKES IN JAPAN". 2020-10-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-01. สืบค้นเมื่อ 2023-12-06.
  18. 18.0 18.1 18.2 Tsugita, Masaki (2001) [1977]. 古事記 (上) 全訳注 [Complete Translated and Annotated Kojiki, Part 1]. Vol. 38. 講談社学術文庫. p. 205. ISBN 4-06-158207-0.
  19. 19.0 19.1 "Ofune Matsuri – A Unique Festival in Nagano, Japan! - Festivals & Events|COOL JAPAN VIDEOS|A Website With Information About Travel, Culture, Food, History, and Things to Do in Japan". cooljapan-videos.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-12-06.
  20. 20.0 20.1 20.2 20.3 20.4 The History of Nations: Japan. Dept. of education. Japan (ภาษาอังกฤษ). H. W. Snow. 1910.
  21. 21.0 21.1 "Ahiratsuhime • . A History . . of Japan . 日本歴史". . A History . . of Japan . 日本歴史 (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2023-12-10.
  22. Norinaga Motoori (2007). The Poetics of Motoori Norinaga: A Hermeneutical Journey. University of Hawaii Press. p. 191. ISBN 978-0-8248-3078-6.
  23. Gary L. Ebersole (1992). Ritual Poetry and the Politics of Death in Early Japan. Princeton University Press. pp. 108–109. ISBN 0-691-01929-0.
  24. The Kojiki: Records of Ancient Matters. Tuttle Publishing. 19 June 2012. p. 218. ISBN 978-1-4629-0511-9.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]