ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กีวี (พืช)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.7
TumCool412 (คุย | ส่วนร่วม)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และซ่อมลิงก์เสีย(ลิงก์เก่าเป็นเวปพนัน)
 
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| accessdate = 2010-10-08}}</ref> ในประเทศไทยนำกีวีเข้ามาปลูกที่[[ดอยอ่างขาง]] และ[[ดอยขุนวาง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]
| accessdate = 2010-10-08}}</ref> ในประเทศไทยนำกีวีเข้ามาปลูกที่[[ดอยอ่างขาง]] และ[[ดอยขุนวาง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]


== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
กีวีเป็นไม้เลื้อย กิ่งและใบมีขนปกคลุม สีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว ดอกแยกเพศและแยกต้นกัน ดอกสีขาว ผลรีรูปไข่ มีขนเล็กๆปกคลุมทั่วผล เนื้อสีเขียว บางพันธุ์เนื้อสีเหลือง ชุ่มน้ำ รสเปรี้ยวอมหวาน เป็นผลไม้ที่เก็บไว้ได้นาน แต่มีความไวต่อเอทิลีน ถ้าเก็บกีวีดิบไว้ใกล้กับผลไม้ที่ปล่อย[[เอทิลีน]] เช่น [[กล้วย]] [[แอปเปิล]] จะสุกเร็วมาก ถ้าเก็บอย่างเหมาะสม จะเก็บได้นานถึงสองสัปดาห์<ref name=ukfoodguide>[http://www.ukfoodguide.net/kiwifruit.htm ukfoodguide.net > Kiwi fruit] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20121014155135/http://www.ukfoodguide.net/kiwifruit.htm |date=2012-10-14 }} Retrieved April, 2011</ref>
กีวีเป็นไม้เลื้อย กิ่งและใบมีขนปกคลุม สีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว ดอกแยกเพศและแยกต้นกัน ดอกสีขาว ผลรีรูปไข่ มีขนเล็กๆปกคลุมทั่วผล เนื้อสีเขียว บางพันธุ์เนื้อสีเหลือง ชุ่มน้ำ รสเปรี้ยวอมหวาน เป็นผลไม้ที่เก็บไว้ได้นาน แต่มีความไวต่อเอทิลีน ถ้าเก็บกีวีดิบไว้ใกล้กับผลไม้ที่ปล่อย[[เอทิลีน]] เช่น [[กล้วย]] [[แอปเปิล]] จะสุกเร็วมาก ถ้าเก็บอย่างเหมาะสม จะเก็บได้นานถึงสองสัปดาห์<ref>{{cite web |url=http://cmuir.cmu.ac.th/bitstream/6653943832/19950/5/hort0352tp_ch2.pdf|title=กีวีฟรุต (Kiwifruit)}}</ref>


== การใช้ประโยชน์ ==
== การใช้ประโยชน์ ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:27, 12 พฤศจิกายน 2567

กีวี

กีวี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Actinidia chinensis) ภาษาจีนเรียกหมีโหวเถา เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน บริเวณลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง[1] ต่อมาเริ่มเป็นที่แพร่หลายออกนอกประเทศจีน ต่อมา มีผู้นำไปปลูกที่นิวซีแลนด์เมื่อ พ.ศ. 2449 และได้ปรับปรุงพันธุ์จนได้กีวีที่รสดีมากขึ้น จนกลายเป็นผู้ส่งออกกีวีรายใหญ่ที่สุด นอกจากนั้น นิวซีแลนด์ยังเปลี่ยนชื่อเรียกผลไม้ชนิดนี้จาก Chinese gooseberry[2] เป็นกีวี ตามชื่อของนกกีวีที่เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ[1]Jack Turner เป็นคนที่เริ่มเรียกว่า "kiwifruit" เมื่อราว พ.ศ. 2505[3] ในประเทศไทยนำกีวีเข้ามาปลูกที่ดอยอ่างขาง และดอยขุนวาง จังหวัดเชียงใหม่

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

[แก้]

กีวีเป็นไม้เลื้อย กิ่งและใบมีขนปกคลุม สีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว ดอกแยกเพศและแยกต้นกัน ดอกสีขาว ผลรีรูปไข่ มีขนเล็กๆปกคลุมทั่วผล เนื้อสีเขียว บางพันธุ์เนื้อสีเหลือง ชุ่มน้ำ รสเปรี้ยวอมหวาน เป็นผลไม้ที่เก็บไว้ได้นาน แต่มีความไวต่อเอทิลีน ถ้าเก็บกีวีดิบไว้ใกล้กับผลไม้ที่ปล่อยเอทิลีน เช่น กล้วย แอปเปิล จะสุกเร็วมาก ถ้าเก็บอย่างเหมาะสม จะเก็บได้นานถึงสองสัปดาห์[4]

การใช้ประโยชน์

[แก้]

กีวีกินได้ทั้งเป็นผลไม้สด และแปรรูปเช่น แช่แข็ง ผลไม้กระป๋อง กวน ตากแห้ง น้ำผลไม้และไวน์ ใช้แต่งหน้าเค้กและสลัด

กีวีดิบ สด
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน255 กิโลจูล (61 กิโลแคลอรี)
14.66 g
น้ำตาล8.99 g
ใยอาหาร3.0 g
0.52 g
1.14 g
วิตามิน
วิตามินเอ
122 μg
ไทอามีน (บี1)
(2%)
0.027 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(2%)
0.025 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(2%)
0.341 มก.
วิตามินบี6
(48%)
0.63 มก.
โฟเลต (บี9)
(6%)
25 μg
วิตามินซี
(112%)
92.7 มก.
วิตามินอี
(10%)
1.5 มก.
วิตามินเค
(38%)
40.3 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(3%)
34 มก.
เหล็ก
(2%)
0.31 มก.
แมกนีเซียม
(5%)
17 มก.
ฟอสฟอรัส
(5%)
34 มก.
โพแทสเซียม
(7%)
312 มก.
โซเดียม
(0%)
3 มก.
สังกะสี
(1%)
0.14 มก.
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550.หน้า 33
  2. Green, Emily (2002-05-08). "Kiwi, Act II". Los Angeles Times.
  3. "How the Kiwifruit Got Its Name". สืบค้นเมื่อ 2010-10-08. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |source= ถูกละเว้น (help)
  4. "กีวีฟรุต (Kiwifruit)" (PDF).

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Actinidia deliciosa ที่วิกิสปีชีส์