ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩᩫ᩠ᨶ (ช็น), ภาษาลาว ຊົນ (ซ็น); เทียบภาษาเขมร ជល់ (ชล̍), ภาษาจีนยุคกลาง (MC tsyhowng), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง cwnj (เฉิ้น, พุ่งเขาไปชนอย่างแรง)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ชน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchon
ราชบัณฑิตยสภาchon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰon˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงชนม์
ชล

คำกริยา

แก้ไข

ชน (คำอาการนาม การชน)

  1. โดนแรง
    รถยนต์ชนต้นไม้
  2. ชิดจนติด
    ตั้งตู้ชนฝา
  3. บรรจบ
    ชนขวบ
  4. ให้ต่อสู้กัน (ใช้กับสัตว์บางชนิด)
    ชนโค
    ชนไก่

คำนาม

แก้ไข

ชน

  1. เรียกไก่อูชนิดหนึ่งที่เลี้ยงไว้ชนกันว่า ไก่ชน
ลูกคำ
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต जन (ชน, คน) หรือภาษาบาลี ชน (คน); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊົນ (ซ็น)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์
{เสียงพยัญชนะซ้ำ}
ชน[เสียงสมาส]
ชน-นะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchonchon-ná-
ราชบัณฑิตยสภาchonchon-na-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰon˧/(สัมผัส)/t͡ɕʰon˧.na˦˥./
คำพ้องเสียงชนม์
ชล

คำนาม

แก้ไข

ชน

  1. (ภาษาหนังสือ) คน
ลูกคำ
แก้ไข

รากศัพท์ 3

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ชอ-นอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔɔ-nɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาcho-no
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔː˧.nɔː˧/(สัมผัส)

คำวิสามานยนาม

แก้ไข

ชน

  1. อักษรย่อของ ชัยนาท

ภาษาบาลี

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ชน ช.

  1. คน

การผันรูป

แก้ไข