ในการเข้าใจทางสังคมศาสตร์ วัฒนธรรมย่อย (อังกฤษ: subculture) ใช้เรียกลักษณะของกลุ่มสังคม ที่มีการยึดถือ บรรทัดฐาน และการกำหนดคุณค่าของสิ่งรูปธรรม และสิ่งนามธรรม แตกต่างกัน การพูดคุยในวัฒนธรรมย่อยเดียวกัน จะพูดคุยเรื่องเดียวกัน หรือที่เรียกว่า ภาษาเดียวกัน วัฒนธรรมย่อยแบ่งออกมาจาก วัฒนธรรม โดยแต่ละสังคมจะแตกต่างกันอยู่กับ อายุ ชนชาติ ศาสนา เพศ ความรู้ พื้นฐานทางสังคม และมุมมองต่างๆ อย่างไรก็ตามคำว่า วัฒนธรรมย่อยมีการกำหนดแตกต่างกันไปตามนักทฤษฎีต่างๆ

ลักษณะหลักที่เห็นได้ชัดของกลุ่มวัฒนธรรมย่อย จะเห็นได้ว่า ความเชื่อ แนวคิด จะแตกต่างกันตามกลุ่ม อย่างจะเห็นได้ว่า กลุ่มวัยรุ่นมีการแต่งตัว รสนิยมการเลือกฟังเพลง แตกต่างจากกลุ่มผู้ใหญ่ เนื่องจากความเชื่อและการยึดถือแตกต่างกัน เปรียบเทียบ ในมุมมองของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ตัวอย่าง การยิ้มให้เพศตรงข้ามที่ไม่สนิท ในวัฒนธรรมเอเชีย ถือว่าเป็นการไม่สุภาพ ในขณะที่การไม่ยิ้มให้เพศตรงข้ามถือว่าเป็นเป็นการไม่สุภาพในบางวัฒนธรรมของสหรัฐอเมริกา

ตัวอย่างของวัฒนธรรมย่อย

แก้
  • กลุ่มวัยรุ่นที่ให้คุณค่ากับการเรียนมากกว่าการแต่งตัว ในขณะที่บางกลุ่มให้คุณค่ากับการแต่งตัวมากกว่าการเรียน หรือบางกลุ่มให้คุณค่ากับทั้งสองอย่างเท่ากัน
  • คนบางกลุ่มเห็นว่าการแต่งงานกับเพศเดียวกันของกลุ่มรักร่วมเพศเป็นเรื่องปกติ ในขณะที่บางกลุ่มเห็นว่าเป็นเรื่องผิดรุนแรง
  • บางกลุ่มวัยรุ่นให้คุณค่ากับเสื้อผ้าราคาแพง ในขณะที่บางกลุ่มให้คุณค่ากับอุปกรณ์รถแต่ง และในขณะเดียวกัน ฮาร์ดดิสก์กลับมีคุณค่ามากกว่าเสื้อผ้าหรืออุปกรณ์รถแต่ง ในอีกวัฒนธรรมย่อยหนึ่ง

คล้ายคลึงกับ การเข้าใจกลุ่มของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน การเข้าใจและศึกษากลุ่มสังคมที่วัฒนธรรมย่อยต่างกัน จำเป็นต้องคำนึงถึงคุณค่า และบรรทัดฐานของกลุ่มวัฒนธรรมย่อย เพื่อที่จะเข้าใจลักษณะความคิดของกลุ่มสังคมนั้นๆ

อ้างอิง

แก้
  • Cante, Richard C. (2009). Gay Men and the Forms of Contemporary US Culture. London: Ashgate Publishing. ISBN 0-7546-7230-1. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  • Gelder, Ken (2007). Subcultures: Cultural Histories and Social Practice (Routledge, March 2007; softcover ISBN 0-415-37952-0)
  • Hebdige, Dick (1979). Subculture: The Meaning of Style (Routledge, March 10, 1981; softcover ISBN 0-415-03949-5). Cited in Negus, Keith (1996). Popular Music in Theory: An Introduction. Wesleyan University Press. ISBN 0-8195-6310-2.
  • Huq, Rupa (2006) 'Beyond subculture' (Routledge, 2006; softcover ISBN 0-415-27815-5. Hardcover ISBN 0-415-27814-7)
  • Maffesoli, Michel (1996). The Time of the Tribes: The Decline of Individualism in Mass Society. (London: Sage Publications. ISBN 080398474X)
  • McKay, George (1996) Senseless Acts of Beauty: Cultures of Resistance since the Sixties. (London: Verso. ISBN 1-85984-028-0.)
  • McKay, George (2005) Circular Breathing: The Cultural Politics of Jazz in Britain. Durham NC: Duke University Press. ISBN 0-8223-3573-5.
  • Riesman, David (1950). "Listening to popular music", American Quarterly, 2, p. 359-71. Cited in Middleton, Richard (1990/2002). Studying Popular Music, p. 155. Philadelphia: Open University Press. ISBN 0-335-15275-9.
  • Thornton, Sarah (1995). Club Cultures: Music, Media, and Subcultural Capital. Cambridge: Polity Press. Cited in Negus, Keith (1996). Popular Music in Theory: An Introduction. Wesleyan University Press. ISBN 0-8195-6310-2.
  • Watters, Ethan (2003). Urban Tribes: A Generation Redefines Friendship, Family, and Commitment. ISBN 1-58234-264-4.
  • Hall, Stuart, Tony Jefferson (1993). Resistance Through Rituals: Youth Subcultures in Post-War Britain. Routledge, 1993.
  • Blair, M. Elizabeth. "Commercialization of Rap Music Youth Subculture." Journal of Popular Culture 27.3 (1993): 21-33. Print.
  • Goldstein-Gidoni, Ofra. "Producers of 'Japan' in Israel: Cultural appropriation in a non-colonial context." Ethnos:Journal of Anthropology 68.3 (2003): 365. Print.
  • Lewin, Phillip, J. Patrick Williams. "Reconceptualizing Punk through Ideology and Authenticity". Conference Papers—American Sociological Association. 2007 Conference Papers, 2007.
  • Howes, David. Cross-cultural consumption: global markets, local realities. New York: Routledge, 1996. Print.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้