มานาโด (อินโดนีเซีย: Manado; Tombulu: Wenang) เป็นเมืองหลักของจังหวัดซูลาเวซีเหนือ โดยเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 บนเกาะซูลาเวซี เป็นรองเพียงมากัซซาร์ ด้วยประชากรตามสำมะโน ค.ศ. 2020 ที่ 451,916 คน บนพื้นที่ 162.53 ตารางกิโลเมตร[2] ส่วนเขตมหานครมานาโดใน ค.ศ. 2018 มีประชากร 1.2 ล้านคน[3] นครนี้อยู่ติดกับอ่าวมานาโด และล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ภูเขา[4]

มานาโด
นครมานาโด
Kota Manado
จากบน ซ้ายไปขวา:
  • ภาพพาโนรามาของมานาโดกับสะพานซูการ์โนตอนอาทิตย์ตกดิน
  • ตึกระฟ้าริมน้ำ
  • จัตุรัสเมืองมานาโด
  • และหาด Kalasey
ตราราชการของมานาโด
ตราอาร์ม
สมญา: 
Kota 1001 Gereja
(นคร 1001 โบสถ์)
คำขวัญ: 
Si Tou Timou Tumou Tou
(มนุษย์มีชีวิตอยู่เพื่อช่วยให้ผู้อื่นมีชีวิต)
(มีนาฮาซัน)
ที่ตั้งในจังหวัดซูลาเวซีเหนือ
OpenStreetMap
แผนที่
มานาโดตั้งอยู่ในเกาะซูลาเวซี
มานาโด
มานาโด
มานาโดตั้งอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย
มานาโด
มานาโด
มานาโด (ประเทศอินโดนีเซีย)
พิกัด: 1°29′35″N 124°50′28.54″E / 1.49306°N 124.8412611°E / 1.49306; 124.8412611
ประเทศ อินโดนีเซีย
จังหวัดซูลาเวซีเหนือ
ก่อตั้ง14 กรกฎาคม 1623; 401 ปีก่อน (1623-07-14)
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีAndrei Angouw
 • รองนายกเทศมนตรีRichard Sualang
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด162.53 ตร.กม. (62.75 ตร.ไมล์)
ความสูง5 เมตร (16 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน ค.ศ. 2020)[2]
 • ทั้งหมด451,916 คน
 • ความหนาแน่น2,800 คน/ตร.กม. (7,200 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+8 (ICST)
รหัสพื้นที่+62 431
ป้ายทะเบียนDB
เว็บไซต์ManadoKota.go.id

ประวัติศาสตร์

แก้

ภูมิอากาศ

แก้
ข้อมูลภูมิอากาศของมานาโด จังหวัดซูลาเวซีเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย (1961-1990)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 29.4
(84.9)
29.5
(85.1)
30.0
(86)
31.4
(88.5)
31.4
(88.5)
31.2
(88.2)
31.3
(88.3)
32.0
(89.6)
32.3
(90.1)
31.7
(89.1)
30.9
(87.6)
30.1
(86.2)
30.9
(87.6)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 25.4
(77.7)
25.4
(77.7)
25.7
(78.3)
26.4
(79.5)
26.4
(79.5)
26.2
(79.2)
26.1
(79)
26.6
(79.9)
26.4
(79.5)
26.3
(79.3)
26.3
(79.3)
25.8
(78.4)
26.1
(79)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 22.3
(72.1)
22.2
(72)
22.3
(72.1)
22.4
(72.3)
22.4
(72.3)
22.3
(72.1)
21.8
(71.2)
21.9
(71.4)
21.2
(70.2)
21.8
(71.2)
22.3
(72.1)
22.5
(72.5)
22.1
(71.8)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 427
(16.81)
361
(14.21)
338
(13.31)
266
(10.47)
268
(10.55)
277
(10.91)
170
(6.69)
121
(4.76)
149
(5.87)
256
(10.08)
290
(11.42)
365
(14.37)
3,288
(129.45)
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 129 119 155 168 168 144 176 210 179 172 157 152 1,929
แหล่งที่มา: Deutscher Wetterdienst[5][6][7][8][9]

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

มานาโดมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นอำเภอ (kecamatan) ตารางข้างล่างแสดงพื้นที่และจำนวนประชากรตามสำมะโน ค.ศ. 2010[10] และสำมะโน ค.ศ. 2020[11] อำเภอใหม่ที่มีชื่อว่า บูนาเก็นเกอปูเลาวัน และปาอัลดูวาได้รับการจัดตั้งขึ้นใน ค.ศ. 2012 ตารางนี้รวมที่ตั้งของศูนย์กลางเขตบริหารด้วย

อำเภอ) พื้นที่
ในตารางกิโลเมตร
ประชากร
ตามสำมะโน
2010[12]
ประชากร
ตามสำมะโน
2020[2]
ศูนย์กลาง
บริหาร
มาลายัง 17.96 54,959 61,891 มาลาลายังซาตู
ซารีโอ 1.99 23,198 21,740 ซารีโอ
วาเนอา 8.47 56,962 59,757 วาเนอา
เวอนัง 3.47 32,796 32,601 ตีกาลากูมารากา
ตีกาลา 6.69 69,734 30,174 ตีกาลาบารู
ปาอัลดูวา 9.38 (a) 44,015 ราโนมูอุต
มาปาเง็ต 53.58 53,194 63,275 ปานีกีบาวะฮ์
ซิงกิล 4.87 46,721 52,732 ซิงกิล
ตูมินติง 5.26 52,089 53,759 บีตุงการังรียา
บูนาเก็น 32.00 20,828 25,669 โมลัซ
บูนาเก็นเกอปูเลาวัน 18.88 (b) 6,303 บูนาเก็น
รวม 162.53 410,481 451,916

หมายเหตุ:
(a) ประชากรอำเภอปาอัลดูวาใน ค.ศ. 2010 ถูกรวมเข้าในจำนวนประชากรของอำเภอตีกาลา โดยอำเภอใหม่แยกออกไปใน ค.ศ. 2013
(b) ประชากรอำเภอบูนาเก็นเกอปูเลาวันใน ค.ศ. 2010 ถูกรวมเข้าในจำนวนประชากรของอำเภอบูนาเก็น โดยอำเภอใหม่แยกออกไปใน ค.ศ. 2013

เมืองพี่น้อง

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Badan Pusat Statistik. Jakarta, 2013.
  2. 2.0 2.1 2.2 Badan Pusat Statistik, Jakarta, 2021.
  3. "Sulawesi Utara Dalam Angka 2019".
  4. "In the shadows of volcanoes: Manado Bay and its harbour". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 January 2011. สืบค้นเมื่อ 14 December 2010.
  5. "Station 97014". Federal Ministry of Transport and Digital Infrastructure. สืบค้นเมื่อ 29 July 2017.[ลิงก์เสีย]
  6. "Station 97014". Federal Ministry of Transport and Digital Infrastructure. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-17. สืบค้นเมื่อ 29 July 2017.
  7. "Station 97014". Federal Ministry of Transport and Digital Infrastructure. สืบค้นเมื่อ 29 July 2017.[ลิงก์เสีย]
  8. "Station 97014". Federal Ministry of Transport and Digital Infrastructure. สืบค้นเมื่อ 29 July 2017.[ลิงก์เสีย]
  9. "Station 97014". Federal Ministry of Transport and Digital Infrastructure. สืบค้นเมื่อ 29 July 2017.
  10. Biro Pusat Statistik, Jakarta, 2011.
  11. "Badan Pusat Statistik Kota Manado". manadokota.bps.go.id. สืบค้นเมื่อ 2023-01-01.
  12. "Badan Pusat Statistik Kota Manado". manadokota.bps.go.id. สืบค้นเมื่อ 2023-01-01.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้