ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป

ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป (อังกฤษ: Chinese Taipei national football team; จีน: 中華台北男子足球代表隊; พินอิน: Zhōnghuá táiběi nánzǐ zúqiú dàibiǎo duì) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐจีนในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ อยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมฟุตบอลจีนไทเป โดยทีมมีประวัติความสำเร็จในระดับเอเชียคือคว้าอันดับ 3 เอเชียนคัพ ปี 1960 และคว้าเหรียญทองในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ เมื่อปี 1954 และ 1958

จีนไทเป
Shirt badge/Association crest
สมาคมสมาคมฟุตบอลจีนไทเป (CTFA)
中華民國足球協會
สมาพันธ์ย่อยอีเอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออก)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนYak Shin-feng
กัปตันWu Chun-ching
ติดทีมชาติสูงสุดChen Po-liang (80)
ทำประตูสูงสุดChen Po-liang (25)
สนามเหย้าสนามกีฬาเทศบาลไทเป
สนามกีฬาแห่งชาติเกาสฺยง
รหัสฟีฟ่าTPE
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 163 ลดลง 4 (20 มิถุนายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด121 (เมษายน–พฤษภาคม ค.ศ. 2018)
อันดับต่ำสุด191 (มิถุนายน ค.ศ. 2016)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ไม่ทางการ
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 2–1 China ธงชาติสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)
(มะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์; 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1913)[2][Note 1]
ทางการ
ธงชาติไต้หวัน สาธารณรัฐจีน 3–2 เวียดนามใต้ ธงชาติเวียดนามใต้
(มะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์; 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1954)[4]
ชนะสูงสุด
ธงชาติกวม กวม 0–10 จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป
(มาเก๊า; 17 มิถุนายน ค.ศ. 2007)
แพ้สูงสุด
ธงชาติคูเวต คูเวต 10–0 จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป
(อัลอัยน์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 1960)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (1960)
เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2006)
ผลงานดีที่สุดรอบรองชนะเลิศ (2006)
ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป
อักษรจีนตัวเต็ม中華台北男子足球代表隊
อักษรจีนตัวย่อ中华台北男子足球代表队

ในปี พ.ศ. 2470 ประเทศจีนเกิดสงครามกลางเมือง ทำให้ทีมชาติไต้หวันได้สิทธิ์แข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศแทนทีมชาติจีน และแยกออกจากกันในปี พ.ศ. 2508 ซึ่งทีมชาติจีนถูกก่อตั้งขึ้นมาอีกครั้ง

ประวัติการแข่งขัน

แก้
  • 1930 ถึง 1950 – ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1954 ถึง 1958 – ถอนตัว
  • 1962 ถึง 1974 – ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1978 ถึง 2026 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1952 ถึง 1956 – ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1960 – รอบ 16 ทีมสุดท้าย
  • 1964 ถึง 1976 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1980 – ถอนตัว
  • 1984 ถึง 1988 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

[Note 2]

  • 1956 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1960 – อันดับที่ 3
  • 1964 – ถอนตัว
  • 1968 – อันดับที่ 4
  • 1972 – ถอนตัว
  • 1976 – ถูกขับออกจากเอเอฟซี
  • 1980 ถึง 1988 – ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1992 ถึง 2023 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2006 – รอบก่อนรองชนะเลิศ
  • 2008 ถึง 2014 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2003 ถึง 2015 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1951 – ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1954 ถึง 1958 –   เหรียญทอง
  • 1962 – ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1966 – รอบแรก
  • 1970 ถึง 1998 – ไม่ได้เข้าร่วม

[Note 2]

เชิงอรรถ

แก้
  1. จีนไทเปเป็นตัวแทนของสโมสรจากประเทศจีนตอนใต้ การแข่งขันครั้งนี้จะไม่ถือว่าเป็นการแข่งขันอย่างเป็นทางการสำหรับจีนไทเป[3]
  2. 2.0 2.1 ตั้งแต่ปี 1992 (โอลิมปิกฤดูร้อน) และ 2002 (เอเชียนเกมส์) ได้จำกัดอายุนักฟุตบอลให้ใช้รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี และมี 3 คนเท่านั้นที่มีอายุเกินกว่านี้ได้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
  2. "China matches, ratings and points exchanged". World Football Elo Ratings: China. สืบค้นเมื่อ 24 November 2016.
  3. Bojan, Jovanovic (15 October 1999). "First Far Eastern Games 1913 (Manila)". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 6 November 2010.
  4. "Taiwan matches, ratings and points exchanged". World Football Elo Ratings: Taiwan. สืบค้นเมื่อ 24 November 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้