โกปาอาเมริกา 2021

การแข่งขันฟุตบอล

โกปาอาเมริกา 2021 (โปรตุเกส: Copa América de 2021) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโกปาอาเมริกา ครั้งที่ 47 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายระดับทีมชาติชิงแชมป์ทวีปอเมริกาใต้ จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) ในปีนี้จะจัดขึ้นที่ประเทศบราซิล ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ถึง 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 จากเดิมที่จะจัดขึ้นในประเทศโคลอมเบีย และอาร์เจนตินา เดิมทีการแข่งขันจะเริ่มต้นระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 ภายใต้ชื่อ โกปาอาเมริกา 2020 แต่ภายหลังจากการระบาดทั่วของไวรัสโควิด-19 ในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2020 คอนเมบอล จึงตัดสินใจเลื่อนการแข่งขันออกไปหนึ่งปี เช่นเดียวกับ ยูฟ่า ที่ได้เลื่อนการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 ออกไปเช่นกัน[2]

โกปาอาเมริกา 2021
คอนเมบอล โกปาอาเมริกา บราซิล 2021
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพบราซิล
วันที่13 มิถุนายน – 10 กรกฎาคม[1]
ทีม10 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 4 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (สมัยที่ 15)
รองชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล
อันดับที่ 3ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
อันดับที่ 4ธงชาติเปรู เปรู
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน28
จำนวนประตู65 (2.32 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม7,800 (279 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
โคลอมเบีย ลุยส์ ดิอัซ
(คนละ 4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติบราซิล บราซิล
2019
2024
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. 2021

เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 ประเทศโคลอมเบียถูกถอดออกจากการเป็นเจ้าภาพร่วม ท่ามกลางการประท้วงต่อประธานาธิบดี อิบัน ดูเก มาร์เกซ ที่กำลังดำเนินอยู่ ก่อนที่ในอีกสิบวันถัดมา อาร์เจนตินาก็ได้ถูกถอดออกเนื่องจากปัญหาการระบาดทั่วของโควิด-19 วันรุ่งขึ้น คอนเมบอลยืนยันว่าบราซิลเป็นเจ้าภาพการแข่งขัน

บราซิล ทีมเจ้าภาพ คือทีมแชมป์เก่าจากการแข่งขันครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2019 ซึ่งเป็นสมัยที่ 9 ของพวกเขา, และบราซิลก็ได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศอีกครั้งในปีนี้แต่ได้พ่ายแพ้ต่อ อาร์เจนตินา 1–0 จากการทำประตูของอังเฆล ดิ มาริอา ทำให้พวกเขาคว้าแชมป์โกปาอาเมริกาเป็นสมัยที่ 15 โดยสูงสุดเทียบเท่ากับอุรุกวัยและเป็นครั้งแรกในรอบ 28 ปี

ทีม

แก้

ทีมชาติสมาชิกสิบทีมของคอนเมบอลจะเข้าร่วมการแข่งขัน โดยเริ่มต้นที่รอบแบ่งกลุ่มที่จะถูกแบ่งออกเป็นโซนเหนือและโซนใต้ตามภูมิศาสตร์[3]

ในเดือนมิถุนายน 2019 คอนเมบอลประกาศอย่างเป็นทางการว่า ออสเตรเลียและกาตาร์ตอบรับคำเชิญในการเข้าร่วมการแข่งขัน ซึ่งเป็นทีมชนะเลิศจากเอเชียนคัพสองครั้งที่แล้ว[4] โดยเป็นการลงเล่นครั้งแรกในโกปาอาเมริกาของทีมชาติออสเตรเลีย ในขณะที่กาตาร์เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งที่สองต่อจากปีที่แล้ว ก่อนที่ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2021 สหพันธ์ฟุตบอลออสเตรเลียและสมาคมฟุตบอลกาตาร์ได้ประกาศถอนตัวจากการแข่งขัน เนื่องจากการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก รอบที่ 2 ในนัดที่เหลือ ได้ถูกเลื่อนมาแข่งขันในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2021 เช่นกัน[5][6] ทำให้โกปาอาเมริกาครั้งนี้เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ ค.ศ. 1991 ที่ไม่มีชาติรับเชิญร่วมแข่งขัน

สถานที่

แก้

ในวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2021 รัฐบาลบราซิลและสมาพันธ์ฟุตบอลบราซิลได้ประกาศว่าการแข่งขันจะเกิดขึ้นในเมืองบราซีเลีย, โกยาเนีย, กูยาบา และรีโอเดจาเนโร[7]สนามกีฬามารากานัง, สนามกีฬาแห่งชาติมาแน การิงชา, อาเรนาปังตานัล และสนามกีฬาโอลิมปิกเปดรู ลูโดวีกู เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน สมาพันธ์ฟุตบอลบราซิลได้ตัดสินใจใช้สนามกีฬาโอลิมปิกนิลตง ซังตุส ซึ่งเป็นสนามที่สองในรีโอเดจาเนโร[8] รัฐบาลจะจัดสรรทรัพยากรในงบประมาณของรัฐบาลกลางเพื่อให้การสนับสนุนที่จำเป็นสำหรับการขนส่งและความปลอดภัยของการแข่งขัน[9] โดยนัดแรกและพิธีเปิดจะเกิดขึ้น ณ สนามมาแน การิงชา ในวันอาทิตย์ที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 2021[8] และรอบชิงชนะเลิศจะเกิดขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 ณ สนามมารากานัง[10]

รีโอเดจาเนโร
สนามกีฬามารากานัง สนามกีฬาโอลิมปิกนิลตง ซังตุส
   
บราซีเลีย กูยาบา โกยาเนีย
สนามกีฬาแห่งชาติมาแน การิงชา อาเรนาปังตานัล สนามกีฬาโอลิมปิกเปดรู ลูโดวีกู
     

จับสลาก

แก้

ถึงแม้ว่ารอบแบ่งกลุ่มจะได้รับการแบ่งออกเป็นโซนเหนือและโซนใต้ตามทำเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ตามประกาศของคอนเมบอลในวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2019 อยู่แล้ว[11] แต่การจับสลากรอบแบ่งกลุ่มก็ยังคงเกิดขึ้นในวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2019 ตามเวลาในประเทศโคลอมเบีย (UTC−5) ในการ์ตาเฮนา ประเทศโคลอมเบีย[12] เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2564 บราซิลได้รับการจัดสรรให้อยู่ในตำแหน่ง B1 แทนที่ของโคลอมเบียหลังจากได้รับการเป็นเจ้าภาพ หลังจากแก้ไขปฏิทินการแข่งขัน[13]

โดยตำแหน่งของทีมภายในกลุ่มมีดังนี้:

กลุ่มเอ
(โซนใต้)
ตำแหน่ง ทีม
A1   อาร์เจนตินา
A2   โบลิเวีย
A3   อุรุกวัย
A4   ชิลี
A5   ปารากวัย
กลุ่มบี
(โซนเหนือ)
ตำแหน่ง ทีม
B1   บราซิล (เจ้าภาพ)
B2   โคลอมเบีย
B3   เวเนซุเอลา
B4   เอกวาดอร์
B5   เปรู
กำหนดการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม
นัดที่ วันที่
นัดที่ 1 13–14 มิถุนายน ค.ศ. 2021
นัดที่ 2 17–18 มิถุนายน ค.ศ. 2021
นัดที่ 3 20–21 มิถุนายน ค.ศ. 2021
นัดที่ 4 23–24 มิถุนายน ค.ศ. 2021
นัดที่ 5 27–28 มิถุนายน ค.ศ. 2021

ผู้เล่น

แก้

แต่ละทีมต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 28 คน (ขยายจากเดิม 23 คน) โดยสามคนต้องเป็นผู้รักษาประตู[14]

ผู้ตัดสิน

แก้

คอนเมบอลได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสินรวม 14 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 22 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ 16 คน และผู้สนับสนุนผู้ตัดสินอีก 10 คน เมื่อวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 2021[15][16]

สมาคม ผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ ผู้สนับสนุนผู้ตัดสิน ผู้สนับสนุนผู้ช่วยผู้ตัดสิน
  อาร์เจนตินา เนสตอร์ ปิตานา
ปาตริซิโอ ลุสโต
เอเซกิเอล ไบรลอบส์กิ
กาบริเอล ชาเด
เมาโร บิเกลียโน
ฟากุนโด เตโย
กริสเตียน นาบาร์โร
  โบลิเวีย เกริ บาร์กัส โฆเซ อันเตโล
เอดวาร์ ซาอาเบดรา
อาริเอล กิซาดา
  บราซิล วิลตง ซัมไปยู
ราฟาแอล เกลาส์
ดานีลู มานิส
บรูนู ปีริส
วักเนร์ รีไว
ราฟาแอล ตราซี
ราฟาแอล อัลวีส
  ชิลี โรเบร์โต โตบาร์ กริสเตียน ชิเอมัน
เกลาดิโอ ริโอส
ฆูลิโอ บัสกุญญัน
กริสเตียน กาไร
อังเฆโล เอร์โมซิยา
  โคลอมเบีย วิลมาร์ โรลดัน
อันเดรส โรฮัส
อาเลกซันเดร์ กุซมัน
ยอน อาเลกซันเดร์ เลออน
ยอน โอสปินา เซบัสเตียน เบลา
  เอกวาดอร์ กิเยร์โม เกร์เรโร กริสเตียน เลสกาโน
ไบรอน โรเมโร
ออกุสโต อารากอน
  ปารากวัย เอเบร์ อากิโน เอดัวร์โด การ์โดโซ
มิลเซียเดส ซัลดิบาร์
เดร์ลิส โลเปซ
ฆวน กาบริเอล เบนิเตซ
โฆเซ กูเอบัส
  เปรู บิกตอร์ อูโก การ์ริโย โยนิ โบซิโอ
ราอุล โลเปซ กรุซ
ดิเอโก อาโร เกบิน ออร์เตกา
  สเปน เฆซุส ฆิล มันซาโน ดิเอโก บาร์เบโร เซบิยา
อังเฆล เนบาโด โรดริเก
ริการ์โด เด บูร์โกส เบงโกเอตเชอา
โฆเซ ลุยส์ มูนูเอรา มอนเตโร
  อุรุกวัย เอสเตบัน ออสโตยิช
เลโอดัน กอนซาเลซ
การ์โลส บาร์เรย์โร
มาร์ติน โซปิ
อันเดรส กุญญา
ดานิเอล เฟดอร์ซุก
อันเดรส มาตอนเต
  เวเนซุเอลา อาเลกซิส เอร์เรรา การ์โลส โลเปซ
ฮอร์เฮ อูร์เรโก
เฮซุส บาเลนซูเอลา
ฮวน โซโต
อัลเบร์โต ปอนเต

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

การจัดสรรทีมของชาติสมาชิกคอนเมบอล ประกาศเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2019[17] โซนทั้งสองสำหรับออสเตรเลียและกาตาร์ซึ่งได้รับเชิญจะมีการจัดสรรภายหลัง ผ่านการจับฉลาก[4]

ทีมสี่อันดับแรกของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ

กลุ่มเอ (โซนใต้)

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อาร์เจนตินา 4 3 1 0 7 2 +5 10 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   อุรุกวัย 4 2 1 1 4 2 +2 7
3   ปารากวัย 4 2 0 2 5 3 +2 6
4   ชิลี 4 1 2 1 3 4 −1 5
5   โบลิเวีย 4 0 0 4 2 10 −8 0
แหล่งที่มา : คอนเมบอล



โบลิเวีย  0–2  อุรุกวัย
รายงาน กินเตโรส   40' (เข้าประตูตัวเอง)
กาบานิ   79'

กลุ่มบี (โซนเหนือ)

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   บราซิล (H) 4 3 1 0 10 2 +8 10 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   เปรู 4 2 1 1 5 7 −2 7
3   โคลอมเบีย 4 1 1 2 3 4 −1 4
4   เอกวาดอร์ 4 0 3 1 5 6 −1 3
5   เวเนซุเอลา 4 0 2 2 2 6 −4 2
แหล่งที่มา : คอนเมบอล
(H) เจ้าภาพ.




รอบแพ้คัดออก

แก้

สายแข่งขัน

แก้
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
3 กรกฎาคม – บราซีเลีย
 
 
  อาร์เจนตินา3
 
6 กรกฎาคม – บราซีเลีย
 
  เอกวาดอร์0
 
  อาร์เจนตินา (ลูกโทษ)1 (3)
 
3 กรกฎาคม – โกยาเนีย
 
  โคลอมเบีย1 (2)
 
  อุรุกวัย0 (2)
 
10 กรกฎาคม – รีโอเดจาเนโร (มารากานัง)
 
  โคลอมเบีย (ลูกโทษ)0 (4)
 
  อาร์เจนตินา1
 
2 กรกฎาคม – รีโอเดจาเนโร (นิลตง ซังตุส)
 
  บราซิล0
 
  บราซิล1
 
5 กรกฎาคม – รีโอเดจาเนโร (นิลตง ซังตุส)
 
  ชิลี0
 
  บราซิล1
 
2 กรกฎาคม – โกยาเนีย
 
  เปรู0 รอบชิงอันดับที่สาม
 
  เปรู (ลูกโทษ)3 (4)
 
9 กรกฎาคม – บราซีเลีย
 
  ปารากวัย3 (3)
 
  โคลอมเบีย3
 
 
  เปรู2
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ

แก้



รอบรองชนะเลิศ

แก้

รอบชิงอันดับที่สาม

แก้

รอบชิงชนะเลิศ

แก้

สถิติ

แก้

ผู้ทำประตู

แก้

มีการทำประตู 65 ประตู จากการแข่งขัน 28 นัด เฉลี่ย 2.32 ประตูต่อนัด


การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

ตารางการจัดอันดับหลังจบการแข่งขัน

แก้

ตามแบบแผนทางสถิติในฟุตบอล, การแข่งขันที่ตัดสินในช่วงต่อเวลาจะถูกนับเป็นชัยชนะและการแพ้ด้วยการดวลลูกโทษจะนับเป็นเสมอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลงานในรอบสุดท้าย
1   อาร์เจนตินา 7 5 2 0 12 3 +9 17 ชนะเลิศ
2   บราซิล 7 5 1 1 12 3 +9 16 รองชนะเลิศ
3   โคลอมเบีย 7 2 3 2 7 7 0 9 อันดับที่สาม
4   เปรู 7 2 2 3 10 14 −4 8 อันดับที่สี่
5   อุรุกวัย 5 2 2 1 4 2 +2 8 ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6   ปารากวัย 5 2 1 2 8 6 +2 7
7   ชิลี 5 1 2 2 3 5 −2 5
8   เอกวาดอร์ 5 0 3 2 5 9 −4 3
9   เวเนซุเอลา 4 0 2 2 2 6 −4 2 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10   โบลิเวีย 4 0 0 4 2 10 −8 0
แหล่งที่มา :

รางวัล

แก้

ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์

แก้
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหน้า

  เอมิเลียโน มาร์ติเนซ

  เมาริซิโอ อิสลา
  กริสเตียน โรเมโร
  มาร์กิญญุส
  เปร์บิส เอสตูปิญญัน

  โรดริโก เด โปล
  กาเซมีรู
  โยชิมาร์ โยตุน

  ลิโอเนล เมสซิ
  เนย์มาร์
  ลุยส์ ดิอัซ

สิทธิการออกอากาศ

แก้

คอนเมบอล

แก้
ประเทศ สถานีการออกอากาศ อ้างอิง
อาร์เจนตินา [18][19]
โบลิเวีย [20][21]
บราซิล [22][23]
ชิลี [24][25][19]
โคลอมเบีย [26][27][19][28]
เอกวาดอร์ [29][19]
ปารากวัย [30][19]
เปรู [31][19]
อุรุกวัย [32][19]
เวเนซุเอลา
  • La TeleTuya
  • VC Sports
[30]

ทั่วโลก

แก้
ประเทศ สถานีการออกอากาศ อ้างอิง
แอลเบเนีย DigitAlb [30]
ออสเตรเลีย Optus Sport [33]
บอลข่าน Arena Sport [30]
แคนาดา [34][35][36]
แคริบเบียน [30]
อเมริกากลาง Tigo Sports [30]
จีน [37][38][39]
คิวบา Tele Rebelde [40]
คอสตาริกา [30]
ไซปรัส PrimeTel [41]
เช็กเกีย Digi Sport [30]
สาธารณรัฐโดมินิกัน CDN 37 [30]
ฝรั่งเศส L'Équipe [42]
จอร์เจีย Adjarasport [30]
เยอรมนี [43]
กรีซ Open TV [44]
เฮติ TNH [30]
ฮอนดูรัส [30]
ฮ่องกง i-Cable [45]
ฮังการี ARENA4 [30]
อินโดนีเซีย [46]
อิตาลี [47][48]
อนุทวีปอินเดีย Sony Pictures Networks [49]
อิสราเอล Charlton [30]
ญี่ปุ่น AbemaTV [50]
คาซัคสถาน Qazsport [30]
มัลดีฟส์
  • ICE TV
  • Public Service Media
[30]
MENA beIN Sports [51]
เม็กซิโก [52][53]
เนปาล DishHome [54]
เนเธอร์แลนด์ Ziggo Sport [30]
นิวซีแลนด์ Spark [55]
กลุ่มนอร์ดิก NENT [56]
ปานามา [30]
โปแลนด์ TVP [57]
โปรตุเกส Sport TV [30]
รัสเซีย [58][30]
สิงคโปร์ StarHub [30]
สโลวาเกีย Digi Sport [30]
เกาหลีใต้ SPOTV [59]
สเปน [60][61][62]
ศรีลังกา Dialog TV [30]
แอฟริกาใต้สะฮารา Canal+ [63]
ซูรินาเม SCCN [30]
ทาจิกิสถาน TV Varzish [30]
ไทย พีพีทีวี [64]
ตุรกี Haber Global [30]
ยูเครน MEGOGO [30]
สหราชอาณาจักร BBC [65]
สหรัฐ [66][67]
เวียดนาม Next Media [68]

หมายเหตุ

แก้
  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 1.18 1.19 1.20 1.21 1.22 1.23 1.24 1.25 1.26 ไม่อนุญาตให้มีผู้เข้าชมในสนามเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปอเมริกาใต้

อ้างอิง

แก้
  1. "FIFA Council makes key decisions for the future of football development". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 26 October 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-15. สืบค้นเมื่อ 26 October 2018.
  2. "Comunicado Oficial". CONMEBOL.com. 17 March 2020.
  3. "La Copa América 2020 en dos zonas de Sudamérica para acercar los partidos de selecciones a sus aficionados". www.conmebol.com. สืบค้นเมื่อ 2019-04-19.
  4. 4.0 4.1 "Australia y Qatar, invitadas a la CONMEBOL Copa América 2020" [Australia and Qatar invited to the CONMEBOL Copa América 2020] (ภาษาสเปน). São Paulo: CONMEBOL. 13 June 2019. สืบค้นเมื่อ 13 June 2019.
  5. "Football Australia confirms Socceroos' withdrawal from Copa America". Football Australia. 23 February 2021. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.
  6. "Qatar not to feature in Copa America 2021". Qatar Football Association. 23 February 2021. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.
  7. "MT, RJ, DF e GO sediarão Copa América, diz governo". CNN Brasil (ภาษาโปรตุเกส). 1 June 2021.
  8. 8.0 8.1 "CBF desiste de quinta cidade-sede e pretende utilizar Engenhão". CNN Brasil (ภาษาโปรตุเกส). 2 June 2021.
  9. "CBF planeja cinco cidades-sede para Copa América no Brasil". CNN Brasil (ภาษาโปรตุเกส). 1 June 2021.
  10. "Governo Federal quer jogos da Copa América no Maracanã, Brasília e Manaus". SporTV (ภาษาโปรตุเกส). 31 May 2021.
  11. "La Copa América 2020 se disputará en dos zonas de Sudamérica para acercar los partidos de selecciones a sus aficionados". www.conmebol.com. 9 April 2019. สืบค้นเมื่อ 9 April 2019.
  12. "La CONMEBOL Copa América 2020 se proyecta con reunión de coordinación" (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 15 October 2019.
  13. de-la-conmebol-copa-america-2021 "El fixture de La CONMEBOL Copa América 2021". CONMEBOL.com (ภาษาสเปน). 2 มิถุนายน 2021. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)[ลิงก์เสีย]
  14. "REGLAMENTO CONMEBOL COPA AMÉRICA 2021" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. 12 May 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-05-14. สืบค้นเมื่อ 2021-06-07.
  15. "Árbitros convocados para la CONMEBOL Copa América 2021" (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 21 April 2021.
  16. "CONMEBOL COPA AMÉRICA 2021 ÁRBITROS CONVOCADOS" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 21 April 2021.
  17. "La Copa América 2020 se disputará en dos zonas de Sudamérica para acercar los partidos de selecciones a sus aficionados". www.conmebol.com. 9 April 2019. สืบค้นเมื่อ 9 April 2019.
  18. Cook, Alexis (3 June 2021). "¿Qué canales transmiten la Copa América 2021 en Argentina?". BOLAVIP (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  19. 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 19.5 19.6 "DIRECTV TRANSMITIRÁ TODOS LOS PARTIDOS DE LA COPA AMÉRICA Y LA UEFA EURO". Plataformas (ภาษาสเปน). 5 May 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.[ลิงก์เสีย]
  20. "Tigo Sports tendrá cobertura especial con multirelato para la Copa América". Tigo (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-20. สืบค้นเมื่อ 7 June 2021.
  21. "La Copa América se verá en la señal HD de Unitel y en digital en Unitel.bo". Unitel (ภาษาสเปน). 4 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-16. สืบค้นเมื่อ 7 June 2021.
  22. "Disney fecha acordo com a Conmebol e vai transmitir Copa América na TV paga". uol (ภาษาโปรตุเกส). 1 June 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  23. "SBT transmite Copa América 2021 com exclusividade". SBT (ภาษาโปรตุเกส). 18 May 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  24. "Cómo ver a la Selección Chilena en Copa América On Line" (ภาษาสเปน). 13.cl. 4 June 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  25. "La Copa América y la Eurocopa estarán en TNT Sports". TNT Sports (ภาษาสเปน). 25 April 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  26. "¡No le va a gustar a muchos! Caracol Televisión reveló cómo será la transmisión de la Copa América". Publimetro (ภาษาสเปน). 15 December 2020. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  27. "En Colombia, ¿qué canales transmiten la Copa América 2021 y sus partidos por TV?". Goal.com (ภาษาสเปน). 12 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
  28. "Win Sports+ transmitirá la Eurocopa y la Copa América 2020" (ภาษาสเปน). Colombia.com. 14 March 2020. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  29. Balseca, Ingrid (2 June 2021). "TC tiene los derechos de transmisión de la Copa América y su equipo deportivo viajará a Brasil". expreso (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  30. 30.00 30.01 30.02 30.03 30.04 30.05 30.06 30.07 30.08 30.09 30.10 30.11 30.12 30.13 30.14 30.15 30.16 30.17 30.18 30.19 30.20 30.21 30.22 30.23 30.24 30.25 30.26 "Broadcasters". Copa America 2021 (ภาษาโปรตุเกส). copaamerica.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-02. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  31. "Copa América 2020: conoce el canal oficial que transmitirá los partidos en Perú". La República (ภาษาสเปน). 27 December 2019. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  32. Bocchio, Ignacio (3 June 2021). "¿Quién transmite la Copa América 2021 en Uruguay?". BOLAVIP (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
  33. "Optus Sport secures long term rights to Copa America 2021 and 2024 tournaments". Optus Sport. 30 March 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  34. "RDS présente la Copa America du 13 juin au 10 juillet". Bell Media (ภาษาฝรั่งเศส). 7 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
  35. "TSN Delivers Complete Coverage of COPA AMERICA, Beginning June 13". Bell Media. 7 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
  36. "Listos para disfrutar de Copa América por Univision Canada" (ภาษาสเปน). Univision. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  37. "开场哨-南美无弱旅 2021美洲杯来啦!". CCTV (ภาษาจีน). 13 June 2021. สืบค้นเมื่อ 15 June 2021.
  38. McCullagh, Kevin (4 June 2021). "China Sports Media distributes Copa América rights to streaming trio". SportBusiness. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  39. "美洲杯在哪看?PP体育拿下新媒体版权". 腾讯网 (ภาษาจีน). qq.com. 3 June 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  40. Emilio, Leytel (10 June 2021). "Tele Rebelde transmitira en vivo todos los partidos de la Copa America". Tele Rebelde (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-11. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
  41. "PrimeTel to broadcast Copa America". CyprusMail. 10 June 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  42. "La Copa America diffusée sur L'Équipe". L'Équipe (ภาษาฝรั่งเศส). 8 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
  43. Beyer, André (17 June 2021). "Sportdigital legt mit weiteren TV-Rechten nach: Copa America live". Digitalfernsehen (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  44. "Copa America". Open Beyond. tvopen.gr. สืบค้นเมื่อ 10 June 2021.
  45. "Cable TV secures Conmebol Copa America 2021 broadcast rights in Hong Kong". telecompaper. 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
  46. "Asyik, Sekarang Copa America 2021 Eksklusif di Indosiar dan Vidio lho". bola.com (ภาษาอินโดนีเซีย). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
  47. "Copa America 2021 su Sky Sport ed Eleven Sports". Simone Salvador (ภาษาอิตาลี). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.
  48. "Dall'Europa al Sud America: oltre agli Europei, su Sky arriva anche la Copa America 2021". Sky Sport (ภาษาอิตาลี). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.
  49. King, Tom (21 April 2021). "Copa America deal expands Sony Pictures Networks India's soccer portfolio". SportsPro. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  50. "「ABEMA独占で『CONMEBOL コパ・アメリカ2021』を全試合独占生放送」". Abema (ภาษาญี่ปุ่น). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  51. "Summer Offer – EURO & COPA". beIN Sports. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  52. "Watch American Cup Games Live". Fanatiz. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  53. "EL TORNEO DE SELECCIONES MÁS IMPORTANTE DEL CONTINENTE AMERICANO". Sky (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-24. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  54. "Now you can watch Euro Cup & Copa America in Dishhome". Nepalonlinepatrika. 14 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-14. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  55. "Spark Sport Bolsters Football Schedule With CONMEBOL Copa América 2021". Scoop Business. 6 May 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  56. "NENT Group's Viaplay to show South American football in nine countries". Nordic Entertainment Group. 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
  57. "Copa America 2021 w TVP Sport! Transmisje wszystkich meczów w TVPSPORT.PL [terminarz]". TVP Sport (ภาษาโปแลนด์). 21 May 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
  58. "CONMEBOL Copa América". okko.tv (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 2021-06-19.[ลิงก์เสีย]
  59. "코파 아메리카 14일 시작...브라질 vs 베네수엘라 개막전, SPOTV 생중계". Single List (ภาษาเกาหลี). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
  60. "Ibai Llanos and Kosmos team up to broadcast the Copa América on Twitch". Kosmos. 18 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-21. สืบค้นเมื่อ 21 June 2021.
  61. "A Copa América 2021 xógase desde hoxe na Galega". CRTVG (ภาษาสเปน). 13 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
  62. Guillén, Daniel (17 June 2021). "La Copa América se podrá seguir en Catalunya a través de TV3". Sport (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 20 June 2021.
  63. "100% de l'UEFA Euro 2020 et de la Copa America 2021 en direct et en HD sur les Chaînes Canal+ Sport en Afrique subsaharienne". Agency Ecofin (ภาษาฝรั่งเศส). 4 June 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
  64. ""พีพีทีวี" คว้าสิทธิ์ "โคปา อเมริกา 2021" ประเดิม 14 มิ.ย.นี้". PPTV HD 36. 8 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
  65. "Copa America: Every game of this summer's tournament live on the BBC". BBC. 2 June 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  66. "FOX Sports Becomes the Home of South American National Team Soccer with Long-Term Conmebol Deal". Fox Sports. 4 May 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  67. "CONMEBOL Copa América Returns to Univision's TUDN". Univision Communications. 22 March 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  68. "Next Media sở hữu bản quyền Copa America 2021 và EURO 2020". Vietnamnet (ภาษาเวียดนาม). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้