สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขต ครั้งแรกทั้งหมด 96 คน และ ครั้งที่สอง 82 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 และ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | สภาผู้แทนราษฎร | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | พระที่นั่งอนันตสมาคม | ||||
วาระ | 6 มกราคม พ.ศ. 2489 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีควง 2 (2489) คณะรัฐมนตรีปรีดี 1 (2489) คณะรัฐมนตรีปรีดี 2 (2489) คณะรัฐมนตรีถวัลย์ 1 (2489-2490) คณะรัฐมนตรีถวัลย์ 2 (2490) | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
สมาชิก | 274 | ||||
ประธาน | พระยามานวราชเสวี ตั้งแต่ 26 มกราคม พ.ศ. 2489 เกษม บุญศรี ตั้งแต่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พึ่ง ศรีจันทร์ ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 | ||||
รองประธาน | เดือน บุนนาค ตั้งแต่ 25 มกราคม พ.ศ. 2489 มงคล รัตนวิจิตร ตั้งแต่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2489 พระยาสุรพันธเสนี ตั้งแต่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2489 | ||||
นายกรัฐมนตรี | ควง อภัยวงศ์ ตั้งแต่ 31 มกราคม พ.ศ. 2489 ปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ตั้งแต่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 |
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน และ ครั้งที่สอง ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 178 คน
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
องค์ประกอบของสภา
แก้สภาผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พรรค | จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
ผลการเลือกตั้ง (รวมผลทั้งสองการเลือกตั้ง) |
ณ วันสิ้นอายุสภา | |
ประชาธิปัตย์ | 62 | 51 |
สหชีพ | 58 | 50 |
แนวรัฐธรรมนูญ | 28 | 35 |
ประชาชน | 0 | 22 |
อิสระ | 20 | 19 |
ไม่ทราบพรรคการเมือง | 0 | 1 |
รวม | 178 | 178 |
ว่าง | - | - |
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรค
แก้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรค ณ วันสิ้นอายุของสภาผู้แทนราษฎร
พรรค | แบ่งเขต | รวม | |||||||
พระนคร | ธนบุรี | กลาง | เหนือ | อีสาน | ใต้ | ตะวันออก | ตะวันตก | ||
ประชาธิปัตย์ | 6 | 2 | 7 | 11 | 11 | 7 | 4 | 3 | 51 |
สหชีพ | 1 | - | 7 | 6 | 25 | 7 | 1 | 3 | 50 |
แนวรัฐธรรมนูญ | 1 | 2 | 8 | 3 | 14 | 2 | 4 | 1 | 35 |
ประชาชน | 1 | - | 5 | 2 | 6 | 4 | 3 | 1 | 22 |
อิสระ | 1 | 1 | 6 | 1 | 2 | 5 | 3 | - | 19 |
ไม่ทราบพรรคการเมือง | 1 | - | - | - | - | - | - | - | 1 |
รวม | 11 | 5 | 33 | 23 | 58 | 25 | 15 | 8 | 178 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แก้ประเภทที่ 1
แก้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ประเภทที่ 1 นับตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปในเดือนมกราคม พ.ศ. 2489 และสิงหาคม พ.ศ. 2489 มีดังนี้[1]
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
พระนคร
แก้จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
พระนคร | 1 | โชติ คุ้มพันธ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | พันตรีควง อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
พระยาศรีวิสารวาจา | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
3 | หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | ||
ร้อยตำรวจเอกภิเศก พรหมายน | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
4 | รังสฤษดิ์ เชาวนศิริ | พรรคสหชีพ | |||
ร้อยตำรวจเอกอภัย สงเคราะห์ราษฏร์ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
5 | ขุนชำนิอนุศาสน์ (เส่ง เลาหะจินดา) | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคสหชีพ | ||
ประสาท สุขุม | พรรคอิสระ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
6 | ดิเรก ชัยนาม | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม/ลาออก | ||
อรุณ พันธุ์ฟัก | ไม่ทราบพรรคการเมือง | เลือกตั้งใหม่ |
ธนบุรี
แก้จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ธนบุรี | 1 | สอ เสถบุตร | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | |
เลื่อน ศราภัยวณิช | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | วิรัช พึ่งสุนทร | พรรคอิสระ | |||
สุเทพ รัตนเสวี | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
3 | พร มลิทอง | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ |
ภาคกลาง
แก้ภาคเหนือ
แก้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แก้ภาคใต้
แก้ภาคตะวันออก
แก้จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
จันทบุรี | 1 | อรัญ รายนานนท์ | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคประชาธิปัตย์ | |
ฉะเชิงเทรา | 1 | กิจจา วัฒนสินธุ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
อุดร วัฒยานนท์ | พรรคประชาชน | เลือกตั้งเพิ่มเติม / ย้ายมาจากพรรคประชาธิปัตย์ | |||
ชลบุรี | 1 | ธรรมนูญ เทียนเงิน | พรรคอิสระ | ||
หม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ตราด | 1 | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคสหชีพ | |
ปราจีนบุรี | 1 | ดุสิต บุญธรรม | พรรคสหชีพ | ||
ทองเปลว ชลภูมิ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | จันทร โกมุทพงศ์ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | ||
พระตะบอง | 1 | ชวลิต อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
สวาสดิ์ อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | พระพิเศษพาณิชย์ | พรรคอิสระ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | ||
พิบูลสงคราม | 1 | ประยูร อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ญาติ ไหวดี | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ระยอง | 1 | เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ | พรรคอิสระ |
ภาคตะวันตก
แก้จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาญจนบุรี | 1 | จำลอง ธนโสภณ | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคประชาธิปัตย์ | |
ทอง สุดออมสิน | พรรคสหชีพ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ตาก | 1 | เทียม ไชยนันทน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ประจวบคีรีขันธ์ | 1 | หลวงอุปกรรัตถวิถี (สระ แสงชูโต) | พรรคสหชีพ | ||
เพชรบุรี | 1 | พันเอกพระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค) | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | |
เยื่อ พลจันทร์ | พรรคสหชีพ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ราชบุรี | 1 | เทียม ณ สงขลา | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | ||
ใย อุลิศ | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม |
ประเภทที่ 2
แก้สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 กำหนดให้ยกเลิกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ประเภทที่ 2 ที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ทำให้ต้องมีการจัดการเลือกตั้งเพิ่มเติมขึ้น ในวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2489
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
ผู้ดำรงตำแหน่ง
แก้ประธานสภาผู้แทนราษฎร พระยามานวราชเสวี (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2490) เกษม บุญศรี ดำรงตำแหน่งแทน (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2490) พึ่ง ศรีจันทร์ ดำรงตำแหน่งแทน
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง เดือน บุนนาค (ลาออก พ.ศ. 2489) มงคล รัตนวิจิตร ดำรงตำแหน่งแทน (ลาออก พ.ศ. 2489) พันเอกพระยาสุรพันธเสนี ดำรงตำแหน่งแทน
อ้างอิง
แก้- ↑ รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4
- ↑ ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์, "นักการเมืองถิ่นจังหวัดนนทบุรี", สถาบันพระปกเกล้า, ชุดสำรวจเพื่อนประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น, ธันวาคม 2553, เข้าถึงได้เมื่อ 4 ตุลาคม 2563[1]
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ 4.0 4.1 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง