ค่าคงตัวของแก๊ส
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ค่าของ R [1] |
หน่วย (V P T−1 n−1) |
---|---|
8.3144621(75)[2] | J K−1 mol−1 |
1.985 8775 (34) | cal K−1 mol−1 |
8.314 472 (15) ×107 | erg K−1 mol−1 |
8.314 472 (15) | m3 Pa K−1 mol−1 |
8.314 472 (15) | cm3 MPa K−1 mol−1 |
8.314 472×10−5 | m3 bar K−1 mol−1 |
8.205 746×10−5 | m3 atm K−1 mol−1 |
8.314 472×10−2 | L bar K−1 mol−1 |
0.082 057 46 (14) | L atm K−1 mol−1 |
62.363 67 (11) | L mmHg K−1 mol−1 |
62.363 67 (11) | L Torr K−1 mol−1 |
6.132 440 (10) | ft-lb K−1 g-mol−1 |
1545.349 (3) | ft-lb R−1 lb-mol−1 |
10.731 59 (2) | ft3 psi R−1 lb-mol−1 |
0.730 2413 (12) | ft3 atm R−1 lb-mol−1 |
998.9701 (17) | ft3 mmHg K−1 lb-mol−1 |
1.986 | Btu lb-mol−1 R−1 |
ค่าคงตัวของแก๊ส เป็นค่าที่ใช้ในสมการสถานะของแก๊สอุดมคติ ซึ่งสามารถหาได้จาก
เมื่อ p คือความดันของแก๊สอุดมคติ T คืออุณหภูมิ คือปริมาตรต่อโมลของแก๊ส
ซึ่งค่าของ R จะได้เป็น
- R = 8.314472[15] J · K-1 · mol-1
ส่วนค่าคงตัวของโบลซ์แมนน์ kB สามารถหาได้จากอัตราส่วนระหว่างค่าคงตัวของแก๊สกับเลขอะโวกาโดร ซึ่งมีค่าประมาณ 6.022 × 1023 อนุภาค ต่อโมล mole
ซึ่งอาจเขียนสมการสถานะของแก๊สอุดมคติได้เป็น
เมื่อ N = nNA ซึ่งเป็นจำนวนโมเลกุลของแก๊สทั้งหมด
อ้างอิง
แก้- ↑ Taylor, Barry N.; Newell, David B. (2008). "CODATA Recommended Values of the Fundamental Physical Constants: 2006" (PDF). Rev. Mod. Phys. 80: 633–730. doi:10.1103/RevModPhys.80.633.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) Direct link to value. - ↑ 2010 CODATA recommended value of R