ข้ามไปเนื้อหา

รัฐเประ

พิกัด: 4°45′N 101°0′E / 4.750°N 101.000°E / 4.750; 101.000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐเประ

Negeri Perak
เนอเกอรีเปรักดารุลริดซวน
Negeri Perak Darul Ridzuan
การถอดเสียงต่าง ๆ
 • มลายูPerak (รูมี)
ڨيرق(ยาวี)
ธงของรัฐเประ
ธง
ตราราชการของรัฐเประ
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
เปรักอามันจายา
("เประ สันติภาพ ความสำเร็จ")
เพลง: อัลละฮ์ลันจุตกันอูเซียซุลตัน
   รัฐเประ ใน    ประเทศมาเลเซีย
พิกัด: 4°45′N 101°0′E / 4.750°N 101.000°E / 4.750; 101.000
เมืองหลวงอีโปะฮ์
เมืองเจ้าผู้ครองกัวลากังซาร์
การปกครอง
 • ประเภทราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญระบบรัฐสภา
 • สุลต่านสุลต่านนัซริน มูอิซซุดดิน ชะฮ์
 • มุขมนตรีอะฮ์มัด ไฟซัล อาซูมู (PH-BERSATU)
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด20,976 ตร.กม. (8,099 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2018)[1]
 • ทั้งหมด2,500,000 (อันดับที่ 5) คน
ประชากรศาสตร์ (2010)[2]
 • กลุ่มชาติพันธุ์
 • ภาษาย่อยมลายูเประ • กวางตุ้ง • ทมิฬ
ภาษาชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ
ดัชนีรัฐ
 • ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (2017)0.807 (สูง) (อันดับที่ 6)[3]
 • อัตราเจริญพันธุ์รวม (2017)1.9[1]
 • ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (2016)65,958 ล้านริงกิต[1]
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานมาเลเซีย[4])
รหัสไปรษณีย์30xxx[5] ถึง 36xxx[6]
รหัสโทรศัพท์033 ถึง 058[7]
รหัส ISO 3166MY-08, 36–39[8]
ทะเบียนพาหนะA[9]
สนธิสัญญาปังโกร์ค.ศ. 1874
เข้าร่วมสหพันธรัฐมลายูค.ศ. 1895
ญี่ปุ่นยึดครองค.ศ. 1942
เข้าร่วมสหพันธรัฐมาลายาค.ศ. 1948
รับเอกราชเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมาลายา31 สิงหาคม ค.ศ. 1957
เว็บไซต์www.perak.gov.my

เประ,[10] เประก์[10] หรือ เปรัก[11] (มลายู: Perak, ڨيرق) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นประเทศมาเลเซีย มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในมาเลเซียตะวันตก ติดต่อกับรัฐเกอดะฮ์และจังหวัดยะลาของประเทศไทยทางทิศเหนือ รัฐปีนังทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ รัฐกลันตันและรัฐปะหังทางทิศตะวันออก รัฐเซอลาโงร์ทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกจรดช่องแคบมะละกา

เประ หรือ เปรัก ในภาษามลายูหมายถึงเงิน ซึ่งน่าจะมาจากสีเงินของแร่ดีบุก แต่บางคนก็ว่าชื่อของรัฐมาจากแสงวิบวับของปลาในน้ำซึ่งส่องเป็นประกายเหมือนเงิน ส่วนชื่อเฉลิมเมืองในภาษาอาหรับคือ ดารุลริดซวน ("ดินแดนแห่งความสง่างาม")

เกาะปังโกร์เป็นเกาะเล็ก ๆ ใกล้ชายฝั่ง มีกิจกรรมท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่น การดำน้ำ

ประชากร

[แก้]
สถิติจำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ของรัฐเประใน ค.ศ. 2010[12]
ศาสนา อัตราส่วน
อิสลาม
  
55.23%
พุทธ
  
25.4%
ฮินดู
  
10.9%
คริสต์
  
4.3%
พื้นบ้านจีน
  
1.7%
อื่น ๆ
  
1.5%
ไม่มีศาสนา
  
0.9%

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Perak @ a Glance". Department of Statistics, Malaysia. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  2. "Total population by ethnic group, administrative district and state, Malaysia" (PDF). Department of Statistics, Malaysia. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 February 2012. สืบค้นเมื่อ 16 October 2019.
  3. "Subnational Human Development Index (2.1) [Perak – Malaysia]". Global Data Lab of Institute for Management Research, Radboud University. สืบค้นเมื่อ 22 October 2019.
  4. Helmer Aslaksen (28 June 2012). "Time Zones in Malaysia". Department of Mathematics, Faculty of Science, National University of Singapore. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 May 2016. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  5. "Postal codes in Perak". cybo.com. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  6. "Postal codes in Teluk Intan". cybo.com. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  7. "Area codes in Perak". cybo.com. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  8. "State Code". Malaysian National Registration Department. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 May 2017. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  9. Teh Wei Soon (23 March 2015). "Some Little Known Facts On Malaysian Vehicle Registration Plates". Malaysian Digest. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 July 2015. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  10. 10.0 10.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  11. "ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาเยอรมัน สเปน ญี่ปุ่น และมลายู" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 135 (พิเศษ 82 ง). 9 เมษายน 2561.
  12. "2010 Population and Housing Census of Malaysia" (PDF). Department of Statistics, Malaysia. สืบค้นเมื่อ 17 June 2012. p. 13