ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ไทย |
วันที่ | 17–28 เมษายน พ.ศ. 2567 |
ทีม | 16 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 2 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | อิหร่าน (สมัยที่ 13th) |
รองชนะเลิศ | ไทย |
อันดับที่ 3 | อุซเบกิสถาน |
อันดับที่ 4 | ทาจิกิสถาน |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 35 |
จำนวนประตู | 177 (5.06 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Saeid Ahmadabbasi (8 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | Saeid Ahmadabbasi |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | Bagher Mohammadi |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ไทย |
การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024 เป็นครั้งที่ 17 ของการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย (ก่อนหน้านี้รู้จักในนาม เอเอฟซี ควาตซอล แชมเปียนชิพ),[1] การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์นานาชาติ จัดทุก 2 ปี ซึ่งจัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติชายแห่งทวีปเอเชีย มีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 1 ทีม[2] สี่ทีมที่ดีที่สุดจะได้ผ่านเข้ารอบ ฟุตซอลโลก ในประเทศอุซเบกิสถาน นอกเหนือจาก ไทย ที่จะได้ผ่านเข้ารอบเป็นเจ้าภาพโดยอัตโนมัติ. หากอุซเบกิสถานเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ, รอบเพลย์ออฟจะมีการจัดขึ้นเพื่อตัดสินตัวแทนจากทวีปเอเชียทีมสุดท้ายในฟุตซอลชิงแชมป์โลก
ทีมชาติญี่ปุ่น คือแชมป์เก่า
การเลือกเจ้าภาพ
[แก้]มีห้าประเทศที่ได้รับการยืนยันสำหรับการประมูล
ประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพโดยคณะกรรมการฟุตซอลและฟุตบอลชายหาดของเอเอฟซี เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2566[3]
รอบคัดเลือก
[แก้]ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
[แก้]16 ทีมด้านล่างนี้ ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย.
ทีม | เข้ารอบในฐานะ | วันที่ผ่านเข้ารอบ | จำนวนครั้งที่ได้เข้าร่วม | ผลงานล่าสุด | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|---|---|
ไทย | 5 กันยายน พ.ศ. 2566[3] | เจ้าภาพ | ครั้งที่ 17 | 2022 | รองชนะเลิศ (2008, 2012) |
จีน | 13 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม เอ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 13 | 2018 | อันดับที่ 4 (2008, 2010) |
อัฟกานิสถาน | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม บี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 1 | ครั้งแรก | ไม่เคย |
ซาอุดีอาระเบีย | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม บี รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 3 | 2022 | รอบแบ่งกลุ่ม (2018, 2022 ) |
อิหร่าน | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม ซี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 17 | 2022 | แชมเปียนส์ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018) |
คีร์กีซสถาน | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม ซี รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 16 | 2018 | อันดับที่ 3 (2005) |
เวียดนาม | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม ดี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 7 | 2022 | อันดับที่ 4 (2016) |
เกาหลีใต้ | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม ดี รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 15 | 2022 | รองชนะเลิศ (1999) |
พม่า | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม อี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 2 | 2018 | รอบแบ่งกลุ่ม (4/4) (2018) |
ทาจิกิสถาน | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม อี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 12 | 2022 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (2007) |
คูเวต | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 13 | 2022 | อันดับที่ 4 (2003, 2014) |
บาห์เรน | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 4 | 2022 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (2018) |
อิรัก | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม จี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 13 | 2022 | อันดับที่ 4 (2018) |
อุซเบกิสถาน | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม จี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 17 | 2022 | รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016) |
ญี่ปุ่น | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม เอช ชนะเลิศ | ครั้งที่ 17 | 2022 | แชมเปียนส์ (2006, 2012, 2014, 2022) |
ออสเตรเลีย | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | กลุ่ม เอช รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 8 | 2016 | อันดับที่ 4 (2012) |
- 1 ตัวเอียง ระบุถึงเจ้าภาพในปีนั้น.
สนามแข่งขัน
[แก้]กรุงเทพมหานคร | |
---|---|
บางกอกอารีนา | |
ความจุ: 12,000 | |
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก | |
ความจุ: 8,000 | |
ผู้เล่น
[แก้]การจับสลาก
[แก้]การจับสลากจะจัดขึ้นในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2566.[4]
16 ทีมจะถูกจับสลากออกเป็นสี่กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม, โดยการจัดวางขึ้นอยู่กับผลงานของพวกเขาที่ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
|
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]
- กฏเกณฑ์
ทีมต่าง ๆ จะถูกจัดอันดับตามคะแนน (3 คะแนนสำหรับการชนะ, 1 คะแนนสำหรับการเสมอ, 0 คะแนนสำหรับการแพ้) และหากคะแนนเท่ากัน เกณฑ์ไทเบรกต่อไปนี้จะถูกนำมาใช้ตามเพื่อจัดอันดับ (กฎระเบียบ ข้อ 7.3)
- คะแนนใน เฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
- ผลต่างประตู ใน เฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ในระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
- ประตูที่ทำได้ในเฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ในระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
- ถ้ามากกว่าสองทีมเสมอกัน, และหลังจากใช้เกณฑ์การพบกันทั้งหมดข้างต้นแล้ว, หนึ่งกลุ่มย่อยของแต่ละทีมยังคงเสมอกัน, เกณฑ์ เฮด-ทู-เฮด ทั้งหมดข้างต้นจะถูกนำไปใช้กับกลุ่มย่อยของแต่ละทีมนี้โดยเฉพาะ;
- ผลต่างประตูในแต่ละนัดทุกกลุ่มทั้งหมด;
- ประตูที่ทำได้ในแต่ละนัดทุกกลุ่มทั้งหมด;
- การดวลลูกโทษ ถ้าสองทีมเท่านั้นคือเสมอกันและพวกเขาพบกันในรอบสุดท้ายของกลุ่ม;
- คะแนนทางวินัย (ใบเหลือง = 1 คะแนน, ใบแดงอันเป็นผลมาจากใบเหลืองสองใบ = 3 คะแนน, ใบแดงโดยตรง = 3 คะแนน, ใบเหลืองตามด้วยใบแดงโดยตรง = 4 คะแนน);
- จำนวนนัดที่เสมอกันเป็นจำนวนมาก.
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย (H) | 3 | 3 | 0 | 0 | 10 | 2 | +8 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | เวียดนาม | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | |
3 | พม่า | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 7 | −3 | 4 | |
4 | จีน | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 7 | −5 | 0 |
เวียดนาม | 1–1 | พม่า |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ไทย | 3–1 | จีน |
---|---|---|
รายงาน |
|
จีน | 0–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน | Nhan Gia Hưng 11' |
พม่า | 0–5 | ไทย |
---|---|---|
รายงาน |
ไทย | 2–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน |
|
พม่า | 3–1 | จีน |
---|---|---|
|
รายงาน |
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อุซเบกิสถาน | 3 | 3 | 0 | 0 | 10 | 4 | +6 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | อิรัก | 3 | 2 | 0 | 1 | 12 | 7 | +5 | 6 | |
3 | ซาอุดีอาระเบีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 6 | 10 | −4 | 3 | |
4 | ออสเตรเลีย | 3 | 0 | 0 | 3 | 6 | 13 | −7 | 0 |
อุซเบกิสถาน | 3–2 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน |
ซาอุดีอาระเบีย | 1–5 | อิรัก |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ออสเตรเลีย | 2–4 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน |
|
อิรัก | 1–4 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
อุซเบกิสถาน | 3–1 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อิรัก | 6–2 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
กลุ่ม ซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ทาจิกิสถาน | 3 | 1 | 2 | 0 | 2 | 0 | +2 | 5 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | คีร์กีซสถาน | 3 | 1 | 2 | 0 | 3 | 2 | +1 | 5 | |
3 | ญี่ปุ่น | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 3 | −1 | 4 | |
4 | เกาหลีใต้ | 3 | 0 | 1 | 2 | 0 | 2 | −2 | 1 |
ทาจิกิสถาน | 2–0 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
รายงาน |
ญี่ปุ่น | 2–3 | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
|
คีร์กีซสถาน | 2–2 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
เกาหลีใต้ | 0–5 | ญี่ปุ่น |
---|---|---|
รายงาน |
ญี่ปุ่น | 1–1 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
เกาหลีใต้ | 5–5 | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
กลุ่ม ดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิหร่าน | 3 | 3 | 0 | 0 | 12 | 4 | +8 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | อัฟกานิสถาน | 3 | 1 | 1 | 1 | 7 | 8 | −1 | 4 | |
3 | คูเวต | 3 | 1 | 1 | 1 | 5 | 8 | −3 | 4 | |
4 | บาห์เรน | 3 | 0 | 0 | 3 | 6 | 10 | −4 | 0 |
อิหร่าน | 3–1 | อัฟกานิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
คูเวต | 2–1 | บาห์เรน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อัฟกานิสถาน | 3–3 | คูเวต |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
บาห์เรน | 3–5 | อิหร่าน |
---|---|---|
รายงาน |
|
อิหร่าน | 4–0 | คูเวต |
---|---|---|
|
รายงาน |
บาห์เรน | 2–3 | อัฟกานิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก) | ||||||||||
ไทย | 3 | |||||||||
26 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก) | ||||||||||
อิรัก | 2 | |||||||||
ไทย (ลูกโทษ) | 3(6) | |||||||||
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก) | ||||||||||
ทาจิกิสถาน | 3(5) | |||||||||
ทาจิกิสถาน (ต่อเวลา) | 2 | |||||||||
28 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) | ||||||||||
อัฟกานิสถาน | 1 | |||||||||
ไทย | 1 | |||||||||
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) | ||||||||||
อิหร่าน | 4 | |||||||||
อุซเบกิสถาน | 2 | |||||||||
26 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) | ||||||||||
เวียดนาม | 1 | |||||||||
อุซเบกิสถาน | 3(4) | |||||||||
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก) | ||||||||||
อิหร่าน (ลูกโทษ) | 3(5) | นัดชิงอันดับที่ 3 | ||||||||
อิหร่าน | 6 | |||||||||
28 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) | ||||||||||
คีร์กีซสถาน | 1 | |||||||||
ทาจิกิสถาน | 5(1) | |||||||||
อุซเบกิสถาน (ลูกโทษ) | 5(3) | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]ผู้ชนะจะได้สิทธิ์เข้าไปสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2024. ในกรณีที่อุซเบกิสถานเป็นหนึ่งในนั้น, ทีมที่แพ้ที่มีอันดับดีที่สุดก็จะได้ผ่านเข้ารอบเช่นกัน.
ทาจิกิสถาน | 2–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | อัฟกานิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อิหร่าน | 6–1 | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ไทย | 3–2 | อิรัก |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อุซเบกิสถาน | 2–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน |
|
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ไทย | 3–3 (ต่อเวลาพิเศษ) | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
|
||
ลูกโทษ | ||
6–5 |
อุซเบกิสถาน | 3–3 (ต่อเวลาพิเศษ) | อิหร่าน |
---|---|---|
|
|
|
ลูกโทษ | ||
4–5 |
เพลย์ออฟนัดชิงอันดับที่ 3
[แก้]ทาจิกิสถาน | 5–5 (ต่อเวลาพิเศษ) | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
1–3 |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]ไทย | 1–4 | อิหร่าน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ผู้ทำประตู
[แก้]มีการทำประตูทั้งหมด 177 ประตู จากการแข่งขัน 35 นัด เฉลี่ย 5.06 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน ประตูใน รอบเพลย์ออฟ สำหรับเข้าร่วม ฟุตซอลโลก 2024 รวมอยู่ด้วย แต่ไม่ได้รับการพิจารณาเป็นผู้ทำประตูสูงสุด
การทำประตู 8 ครั้ง
การทำประตู 5 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
- Farzad Mahmoodi
- Behrouz Azimi
- Yūsei Arai
- Maksat Alimov
- Donierbek Amanbaev
- Samat Dzhanat uulu
- Kairat Kubanychov
- Shokhrukh Makhmadaminov
- Komron Aliev
- Bahodur Khojaev
- Samandar Rizomov
- อลงกรณ์ จันทร์พร
- มูฮัมหมัด อุสมานมูซา
- ศุภวุฒิ เถื่อนกลาง
- Abror Akhmetzyanov
- Sunatulla Juraev
- Elbek Tulkinov
- Akbar Usmonov
การทำประตู 2 ครั้ง
- Reza Hosseinpour
- Akbar Kazemi
- Mahdi Norowzi
- Ali Al-Araibi
- Saleh Sanjar
- Ali Asghar Hassanzadeh
- Mustafa Ihsan Al-Bayati
- Harith Al-Obaidi
- Haedr Majed Al-Ogaili
- António Hirata
- Ko Ko Lwin
- Nawaf Mubarak Aroan
- Fayzali Sardorov
- เทอดศักดิ์ เจริญพงษ์
- วรศักดิ์ ศรีหรั่งไพโรจน์
- Mashrab Adilov
- Dilshod Rakhmatov
- Nguyễn Mạnh Dũng
การทำประตู 1 ครั้ง
- Omid Qanbari
- Mohammad Javad Safari
- Shervin Adeli
- Ethan De Melo
- Jamie Dib
- Tyler Garner
- Wade Giovenali
- Michael Kouta
- Ammar Hasan Ali
- Mirza Al-Noaimi
- Yakepujiang Maimaiti
- Xu Yang
- Salar Aghapour
- Ali Akrami
- Salar Aghapour
- Bagher Mohammadi
- Mohanad Abdulhadi Albu-Mohammed
- Muheb Al-Deen Al-Taiel
- Kentaro Ishida
- Kazuhiro Nibuya
- Yuta Tsutsumi
- Naser Al-Alban
- Sulman Al-Baeijan
- Saleh Al-Fadhel
- Ahmad Al-Farsi
- Omar Al-Mansour
- Daniiar Talaibekov
- Hlaing Min Tun
- Abdullah Al-Maghrabi
- Fares Fahad Al-Maleh
- Abdulilah Al-Otaibi
- Eihab Saied Mohamed
- Kim Seung-hyun
- Kyoung Jeong-soo
- Lee Han-wool
- Lim Seung-ju
- Yoo Kyung-dong
- Umed Kuziev
- Dilshod Salomov
- Muhamadjon Sharipov
- อภิวัฒน์ แจ่มเจริญ
- ปาณัสม์ กิตติภาณุวงศ์
- อิทธิชา ประภาพันธ์
- จิรวัฒน์ สอนวิเชียร
- Abbos Elmurodov
- Ilkhomjon Khamroev
- Mekhroj Khudoyberdiev
- Ikhtiyor Ropiev
- Đào Minh Quảng
- Nguyễn Thịnh Phát
- Nhan Gia Hưng
- Từ Minh Quang
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- Reza Hosseinpour (ในนัดพบกับ ทาจิกิสถาน)
- Mahdi Norowzi (ในนัดพบกับ คีร์กีซสถาน)
- Shen Siming (ในนัดพบกับ เมียนมาร์)
- Ahmad Al-Farsi (ในนัดพบกับ อิหร่าน)
- Mukhamed Askarbekov (ในนัดพบกับ อัฟกานิสถาน)
- Mashrab Adilov (ในนัดพบกับ อิหร่าน)
- Abror Akhmetzyanov (ในนัดพบกับ อิหร่าน)
รอบเพลย์ออฟ
[แก้]การแข่งขันรอบเพลย์ออฟขึ้นอยู่กับผลงานของ อุซเบกิสถาน ซึ่งผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติสำหรับ ฟุตซอลโลก 2024 ในฐานะเจ้าภาพโดยอัตโนมัติ อุซเบกิสถานผ่านเข้าสู่รอบ รอบรองชนะเลิศ ดังนั้นรูปแบบเพลย์ออฟจึงจัดขึ้นเพื่อให้ผู้แพ้รอบก่อนรองชนะเลิศที่เหลืออีกสี่ทีมได้เล่นเพลย์ออฟแบบคัดออกครั้งเดียว ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ 3 จะผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2024
ในรอบเพลย์ออฟ การต่อเวลาพิเศษ และ การยิงจุดโทษ จะถูกใช้ในการตัดสินผู้ชนะหากจำเป็น (ข้อบังคับข้อ 10) .[2]
สายการแข่งขัน
[แก้]รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||
26 เมษายน – อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก | ||||||
อิรัก | 3 | |||||
28 เมษายน – บางกอกอารีนา | ||||||
อัฟกานิสถาน | 5 | |||||
อัฟกานิสถาน | 5 | |||||
26 เมษายน – บางกอกอารีนา | ||||||
คีร์กีซสถาน | 3 | |||||
เวียดนาม | 2 | |||||
คีร์กีซสถาน | 3 | |||||
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]อิรัก | 3–5 | อัฟกานิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
เวียดนาม | 2–3 | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]ผู้ชนะจะมีสิทธิ์เข้าร่วม ฟุตซอลโลก 2024
อัฟกานิสถาน | 5–3 | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
|
ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตซอลโลก
[แก้]ห้าทีมด้านล่างนี้ที่มาจากเอเอฟซีได้สิทธิ์เข้าไปสำหรับ ฟุตซอลโลก 2024 ร่วมกับเจ้าภาพ อุซเบกิสถาน.
ทีม | วันที่ผ่านเข้ารอบ | การลงสนามครั้งที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1 |
---|---|---|
อุซเบกิสถาน | 23 มิถุนายน 2566[6] | 2 (2016, 2021) |
ทาจิกิสถาน | 24 เมษายน 2567 | 0 (ครั้งแรก) |
อิหร่าน | 24 เมษายน 2567 | 8 (1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2021) |
ไทย | 24 เมษายน 2567 | 6 (2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2021) |
อัฟกานิสถาน | 28 เมษายน 2567 | 0 (ครั้งแรก) |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 ตุลาคม 2020.
- ↑ 2.0 2.1 "AFC Futsal Asian Cup 2024 Competition Regulations" (PDF). Asian Football Confederation. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 กันยายน 2023.
- ↑ 3.0 3.1 "Thailand recommended as host for the AFC Futsal Asian Cup™ 2024". the-AFC. Asian Football Confederation. 5 กันยายน 2023. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2023.
- ↑ "Asian Football Calendar (Oct 2023 – Sep 2024)". the-afc. Asian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2023.
- ↑ "AFC Futsal Asian Cup Thailand 2024 Match Schedule" (PDF). Asian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2024.
- ↑ "Uzbekistan to host the FIFA Futsal World Cup 2024". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 23 มิถุนายน 2023. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2023.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC Futsal Championship, the-AFC.com
- 2024 AFC Futsal Asian Cup Fixtures & Standings, the-AFC.com