ข้ามไปเนื้อหา

ควีนม็อดแลนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ดินแดนควีนมอด)
ควีนม็อดแลนด์

Dronning Maud Land
ธงชาติควีนม็อดแลนด์
ธงชาติ
ควีนม็อดแลนด์
ควีนม็อดแลนด์
ก่อตั้ง
• ก่อตั้ง
14 มกราคม ค.ศ. 1939
พื้นที่
• รวม
2,500,000 ตารางกิโลเมตร (970,000 ตารางไมล์)

ควีนม็อดแลนด์ (อังกฤษ: Queen Maud Land) หรือ ดร็อนนิงเมาด์ลัน (นอร์เวย์: Dronning Maud Land)[หมายเหตุ 1] เป็นภูมิภาคในทวีปแอนตาร์กติกาขนาดเกือบ 2.7-ล้าน-ตารางกิโลเมตร (1.0-ล้าน-ตารางไมล์)[5] ที่อ้างสิทธิ์เป็นดินแดนในภาวะพึ่งพิงโดยประเทศนอร์เวย์[6] ชายแดนพื้นที่อ้างสิทธิ์นี้ติดกับบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีที่ 20° ตะวันตกและดินแดนแอนตาร์กติกาของออสเตรเลียที่ 45° ตะวันออก นอกจากนี้ มีการผนวกพื้นที่ขนาดเล็กที่ไม่มีใครอ้างสิทธิ์ใน ค.ศ. 1939 เข้าไปในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2015[7] พื้นที่นี้ตั้งอยู่ในแอนตาร์กติกาตะวันออก กินพื้นที่ทวีปประมาณหนึ่งส่วนห้า และตั้งชื่อตามพระนามสมเด็จพระราชินีม็อด (1869–1938)

ใน ค.ศ. 1930 Hjalmar Riiser-Larsen ชาวนอร์เวย์ เป็นบุตตลแรกที่ขึ้นเหยียบดินแดนนี้ จากนั้นในวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1939 นอร์เวย์เข้าอ้างสิทธิ์พื้นที่นี้ ต่อมาในวันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1961 ควีนม็อดแลนด์กลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก ทำให้เป็นเขตปลอดทหาร ดินแดนนี้เป็นหนึ่งในสองดินแดนแอนตาร์กติกาที่นอร์เวย์อ้างสิทธิ์ ส่วนอีกแห่งคือเกาะปีเตอร์ที่ 1 พื้นน้ำริมชายฝั่งมีชื่อว่าทะเลสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7

ภูมิศาสตร์

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. บางครั้งสะกดในภาษานอร์เวย์เป็น Dronning Mauds land[1] ผู้พูดภาษาอังกฤษก็ใช้ชื่อภาษานอร์เวย์ด้วย[2][3] โดยมีที่มาจากข้อตกลงใน ค.ศ. 1974 ระหว่างนอร์เวย์และสหราชอาณาจักรที่จะไม่แปลชื่อข้ออ้างสิทธิ์ซึ่งกันและกัน ข้อตกลงที่คล้ายกันนี้ก็ใช้งานในออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และฝรั่งเศสด้วย แม้จะไม่เป็นทางการก็ตาม[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Dronning Mauds land". NRK-språket. 12 February 2015.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ r304
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ m540
  4. Ørvoll, Oddveig Øien. "Kartlegginga av Antarktis: Internasjonale avtaler" [Mapping Antarctica: International Agreements] (ภาษานอร์เวย์). Norwegian Polar Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2011. สืบค้นเมื่อ 15 July 2011.
  5. "Minifacts about Norway 2011: 2. Geography, climate and environment". Statistics Norway. 2011. สืบค้นเมื่อ 21 August 2011.
  6. "Forutsetninger for Antarktistraktaten: Dronning Maud Lands statsrettslige stilling – "utviklingen" frem til 1957". Norsk Polarhistorie (ภาษานอร์เวย์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2021. สืบค้นเมื่อ 15 May 2011.
  7. Rapp, Ole Magnus (21 September 2015). "Norge utvider Dronning Maud Land helt frem til Sydpolen". Aftenposten (ภาษานอร์เวย์). Oslo, Norway. สืบค้นเมื่อ 22 September 2015. …formålet med anneksjonen var å legge under seg det landet som til nå ligger herreløst og som ingen andre enn nordmenn har kartlagt og gransket. Norske myndigheter har derfor ikke motsatt seg at noen tolker det norske kravet slik at det går helt opp til og inkluderer polpunktet.

ข้อมูล

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]