พ.ศ. 2523
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ.1980)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2523 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1980 MCMLXXX |
Ab urbe condita | 2733 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1429 ԹՎ ՌՆԻԹ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6730 |
ปฏิทินบาไฮ | 136–137 |
ปฏิทินเบงกอล | 1387 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2930 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 28 Eliz. 2 – 29 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2524 |
ปฏิทินพม่า | 1342 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7488–7489 |
ปฏิทินจีน | 己未年 (มะแมธาตุดิน) 4676 หรือ 4616 — ถึง — 庚申年 (วอกธาตุโลหะ) 4677 หรือ 4617 |
ปฏิทินคอปติก | 1696–1697 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3146 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1972–1973 |
ปฏิทินฮีบรู | 5740–5741 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2036–2037 |
- ศกสมวัต | 1902–1903 |
- กลียุค | 5081–5082 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11980 |
ปฏิทินอิกโบ | 980–981 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1358–1359 |
ปฏิทินอิสลาม | 1400–1401 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 55 (昭和55年) |
ปฏิทินจูเช | 69 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4313 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 69 民國69年 |
เวลายูนิกซ์ | 315532800–347155199 |
พุทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีวอก โทศก จุลศักราช 1342 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี
เหตุการณ์
[แก้]มกราคม-มิถุนายน
[แก้]- 29 กุมภาพันธ์ – พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี เนื่องจากไม่สามารถแก้ปัญหาวิกฤติการณ์น้ำมัน และผู้ลี้ภัยชาวกัมพูชา
- 3 มีนาคม
- พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยมติสภาผู้แทนราษฎร
- ทีมฟุตบอลทีมชาติออสเตรเลียชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติโอเชียเนีย ครั้งที่ 2 ณ นิวแคลิโดเนีย
- 22 มีนาคม – ทีมฟุตบอลทีมชาติไนจีเรียชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 12 ณ ประเทศไนจีเรีย
- 21 มีนาคม – จิมมี คาร์เตอร์ ประธานาธิบดีสหรัฐ ประกาศคว่ำบาตรไม่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่จะมีขึ้นในกรุงมอสโก
- 25 มีนาคม – วันสถาปนาโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า
- 18 เมษายน – โรดีเชีย สถาปนาขึ้นเป็นสาธารณรัฐซิมบับเว
- 24 – 25 เมษายน – ภารกิจช่วยเหลือตัวประกันโดยคอมมานโดสหรัฐ ในอิหร่านประสบความล้มเหลว เนื่องจากเกิดปัญหากับเฮลิคอปเตอร์ ทหารสหรัฐ 8 นาย เสียชีวิต
- 27 เมษายน – เครื่องบินเดินอากาศไทย เที่ยวบินที่ 231 ต้นทางขอนแก่นปลายทางกรุงเทพฯ ตกที่ระยะประมาณ 13 กม. จากท่าอากาศยานกรุงเทพ บริเวณอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี มีผู้เสียชีวิต 44 คน บาดเจ็บอีก 9 คน สาเหตุเกิดจากการสูญเสียการควบคุมเนื่องจากพายุฝน
- 30 เมษายน – เจ้าหญิงเบียทริกซ์ เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ เสด็จขึ้นครองราชย์ เป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ หลังจากพระราชมารดา สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาสละราชสมบัติใน พ.ศ. 2523
- 18 พฤษภาคม – ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ระเบิด คร่าชีวิตประชาชน 57 คน และทรัพย์สินเสียหายเป็นมูลค่า 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
- 24 พฤษภาคม – ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เรียกร้องให้ปล่อยตัวประกัน ที่ถูกกักในสถานทูตสหรัฐประจำกรุงเตหะราน
- 1 มิถุนายน – สถานีโทรทัศน์ซีเอ็นเอ็น แพร่สัญญาณเป็นครั้งแรก
กรกฎาคม-ธันวาคม
[แก้]- 19 กรกฎาคม – พิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ณ กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต (พิธีปิดวันที่ 3 สิงหาคม)
- 30 กรกฎาคม – ประเทศวานูอาตูประกาศเอกราช
- 12 สิงหาคม – พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 4 รอบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
- 25 สิงหาคม – ไมโครซอฟท์ประกาศระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของตนเอง ในชื่อ ซีนิกซ์ (Xenix)
- 22 กันยายน – อิรักเริ่มแผนรุกรานอิหร่าน เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามอิรัก-อิหร่าน
- 30 กันยายน – ทีมฟุตบอลทีมชาติคูเวตชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ครั้งที่ 7 ณ กรุงคูเวตซิตี รัฐคูเวต
- 21 ตุลาคม – พระราชพิธีฉลองพระชนมายุ 80 พรรษา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
- 4 พฤศจิกายน – โรนัลด์ เรแกน จากพรรครีพับลิกัน ชนะจิมมี คาร์เตอร์ จากพรรคดีโมแครต ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา
- 6 พฤศจิกายน
- 12 พฤศจิกายน – สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 10 (สทท.10) แพร่ภาพออกอากาศครั้งแรก
- หมู่เกาะอ่างทองได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ
- โครงการวอยเอเจอร์ : ยานวอยเอเจอร์ 1 ขององค์การนาซา ผ่านใกล้ดาวเสาร์มากที่สุด
- 19 พฤศจิกายน – สวนสยาม เปิดให้บริการวันแรก
- 23 พฤศจิกายน – เกิดแผ่นดินไหวหลายระลอกทางใต้ของประเทศอิตาลี ทำให้มีผู้เสียชีวิต 4,800 คน
- 1 ธันวาคม – มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรับนักศึกษารุ่นแรก เปิดสอน 3 สาขาวิชา คือ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ และวิทยาการจัดการ
- 8 ธันวาคม – มาร์ก เดวิด แชปแมน ยิงจอห์น เลนนอน อดีตสมาชิกวงเดอะ บีเทิลส์ เสียชีวิตนอกอพาร์ตเมนต์ของเขาในนครนิวยอร์ก
- 16 ธันวาคม – เอเปกตัดสินใจเพิ่มราคาปิโตรเลียม 10% ในการประชุมที่เกาะบาหลี
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 9 มกราคม – เซอร์จิโอ การ์เซีย นักกอล์ฟชาวสเปน
- 15 มกราคม – ดวงเพชร แสงมรกต นักมวยชาวไทย
- 20 มกราคม – รุ้งนภัฐ บริจินดากุล นักแสดงชาวไทย
- 23 มกราคม – ทฤษฎี สหวงษ์ นักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 18 มกราคม พ.ศ. 2559)
- 27 มกราคม – ทวีเวท ศรีณรงค์ นักดนตรีชาวไทย
- 29 มกราคม
- ทาเคฟูมิ ซากาตะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- อิวาน คลาสนิซ นักฟุตบอลชาวโครเอเชีย
- 31 มกราคม – เจสัน ยัง นักแสดงชาวไทย
กุมภาพันธ์
[แก้]- 5 กุมภาพันธ์ – เจ้าฟ้าชายปีเตอร์ รัชทายาทแห่งเซอร์เบีย
- 8 กุมภาพันธ์ - อิสราภรณ์ จันทรโสภาคย์ นักร้องและนักแสดงชาวไทย
- 13 กุมภาพันธ์ – เดวิด นครหลวงโปรโมชั่น นักมวยชาวไทย
- 5 กุมภาพันธ์ – วันดี สิงห์วังชา นักมวยชาวไทย
- 12 กุมภาพันธ์ – ฆวน การ์โลส เฟร์เรโร นักเทนนิสชาวสเปน
- 21 กุมภาพันธ์
- ลำยอง หนองหินห่าว นักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย
- สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรภูฎาน
มีนาคม
[แก้]- 17 มีนาคม –
- บัวชมพู ฟอร์ด นักร้องและนักแสดงชาวไทย
- ธัญญ์ ธนากร นักแสดงชาวไทย
- 21 มีนาคม – รอนัลดีนโย นักฟุตบอลชาวบราซิล
- 27 มีนาคม – ต่าย อรทัย นักร้องชาวไทย
เมษายน
[แก้]- 9 เมษายน – ธิติยา นพพงษากิจ นักร้องและนักแสดงชาวไทย
- 17 เมษายน – กรุณ ซอโสตถิกุล นักร้องชาวไทย
- 26 เมษายน – แชนนิง เททัม นักแสดงชาวอเมริกัน
พฤษภาคม
[แก้]- 18 พฤษภาคม – กวี ตันจรารักษ์ นักแสดงชาวไทย
- 30 พฤษภาคม – สตีเวน เจอร์ราร์ด นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
มิถุนายน
[แก้]- 3 มิถุนายน – ตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานี เจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์พระองค์ปัจจุบัน
- 9 มิถุนายน – นพพล พิทักษ์โล่พานิช นักแสดงชาวไทย
- 12 มิถุนายน – แสงหิรัญ กระทิงแดงยิม นักมวยชาวไทย
- 17 มิถุนายน –
- ธัญวิสิฎฐ์ เสียงหวาน นักแสดงชาวไทย
- วีนัส วิลเลียมส์ นักเทนนิสชาวอเมริกัน
- 20 มิถุนายน – พรชิตา ณ สงขลา นักแสดงชาวไทย
กรกฎาคม
[แก้]- 5 กรกฎาคม
- คริส หอวัง นักแสดงชาวไทย
- อีวา กรีน นักแสดงชาวฝรั่งเศส
- 8 กรกฎาคม – ร็อบบี คีน นักฟุตบอลชาวไอร์แลนด์
- 27 กรกฎาคม – ดานิเอล ปอนเซ เด เลออน นักมวยสากลชาวเม็กซิโก
สิงหาคม
[แก้]- 1 สิงหาคม - อนุวัฒน์ สงวนศักดิ์ภักดี นักร้องชาวไทย
- 13 สิงหาคม – กันยารัตน์ ติยะพรไชย นักร้องชาวไทย
- 15 สิงหาคม – ไมเคิล คัตซิดิส นักมวยสากลชาวออสเตรเลีย
- 26 สิงหาคม – คริส ไพน์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 28 สิงหาคม – เข็มอัปสร สิริสุขะ นักแสดงชาวไทย
กันยายน
[แก้]- 5 กันยายน – พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร นักแสดงชาวไทย
- 12 กันยายน
- เหยา หมิง นักบาสเกตบอลชาวจีน
- จันทร์ทัย น้อยหอม นักร้องลูกทุ่งชาวไทย
- 14 กันยายน – โยกเยก เชิญยิ้มนักแสดงตลกชาวไทย
- 15 กันยายน – เมธี อรุณ นักร้องชาวไทย
- 24 กันยายน – วรนุช วงษ์สวรรค์ นักแสดงชาวไทย
- 30 กันยายน – มาร์ตินา ฮิงกิส นักเทนนิสชาวสวิตเซอร์แลนด์
ตุลาคม
[แก้]- 5 ตุลาคม – อรชุน รินทรวิฑูรย์ ผู้ประกาศข่าวชาวไทย
- 17 ตุลาคม – ชมพูนุช ตัณฑเศรษฐี ผู้ประกาศข่าวชาวไทย
- 27 ตุลาคม – ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ นักแสดงชาวไทย
- 28 ตุลาคม – อลัน สมิธ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
พฤศจิกายน
[แก้]- 6 พฤศจิกายน
- ญารินดา บุนนาค นักร้อง, นักแสดง, พิธีกร และสถาปนิกหญิง ชาวไทย
- พิจิกา จิตตะปุตตะ นักจัดรายการวิทยุ/นักร้อง/นักแสดงชาวไทย
- ภัทร ปิยภัทร์กิติ นักฟุตบอลชาวไทย
- 12 พฤศจิกายน – ไรอัน กอสลิง นักแสดงชาวแคนาดา
- 16 พฤศจิกายน – ดล เหตระกูล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
- 28 พฤศจิกายน – เจ้าหญิงมาเรีย เทเรเซียแห่งทวร์นและทักซิส (ประสูติ ค.ศ. 1980)
ธันวาคม
[แก้]- 3 ธันวาคม – เปรมสุดา สันติวัฒนา ผู้ประกาศข่าวชาวไทย
- 6 ธันวาคม – เค ยาซูดะ นักร้องชาวญี่ปุ่น
- 7 ธันวาคม – จอห์น เทร์รี นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 10 ธันวาคม – เทพกิจ ฉัตรสุริยาวงศ์ ผู้ประกาศข่าวชาวไทย
- 14 ธันวาคม
- อมิตา มารี ยัง นักร้องชาวไทย
- อดิศร อรรถกฤษณ์ นักร้องและนักแสดงชาวไทย
- 16 ธันวาคม – โฮซูมิ ฮาเซกาวา นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- 18 ธันวาคม – คริสตินา อากีเลรา นักร้องชาวอเมริกัน
- 19 ธันวาคม – เจค จิลเลนฮอล นักแสดงชาวอเมริกัน
- 20 ธันวาคม – แอชลีย์ โคล นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 23 ธันวาคม
- พาสนา ทองบุญเรือง นักร้องชาวไทย
- ทราย เจริญปุระ นักแสดงชาวไทย
- สมาน กุนัน อดีตหน่วยซีล (ถึงแก่กรรม 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2561)
- 25 ธันวาคม – ภพธร สุนทรญาณกิจ นักดนตรีชาวไทย
- 31 ธันวาคม – โก๊ะตี๋ อารามบอย นักแสดงชาวไทย
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 19 มีนาคม – หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุช (ประสูติ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2440)
- 15 เมษายน – ฌ็อง-ปอล ซาทร์ นักปรัชญาและนักเขียนชาวฝรั่งเศส (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2448)
- 29 เมษายน – อัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2442)
- 19 มิถุนายน – พระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร) (เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2449)
- 7 กรกฎาคม – สมจิตต์ ทรัพย์สำรวย นักแสดงหญิงชาวไทย (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2467)
- 19 สิงหาคม – ออตโต แฟรงค์ นักเขียนชาวเยอรมนี (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2432)
- 7 พฤศจิกายน – สตีฟ แม็คควีน นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 24 มีนาคม พ.ศ. 2473)
- 8 ธันวาคม – จอห์น เลนนอน นักดนตรีชาวอังกฤษ (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2483)
- 16 ธันวาคม – ฮาร์แลนด์ เดวิด แซนเดอร์ส หรือ ผู้พันแซนเดอร์ส นักธุรกิจชาวอเมริกัน (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2433)