ข้ามไปเนื้อหา

มะมะตา พยานาร์จี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รุ่นสำหรับพิมพ์ไม่ได้รับการสนับสนุนอีกต่อไปและอาจมีข้อผิดพลาด โปรดอัปเดตบุ๊กมาร์กและใช้ตัวเลือกสำหรับพิมพ์ที่มีมาให้ในเบราว์เซอร์แทน
มะมะตา พยานาร์จี
มะมะตา เมื่อปี 2018
ผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตก คนที่ 8
เริ่มดำรงตำแหน่ง
20 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 (2011-05-20)
ผู้ว่าการ
Cabinet
ก่อนหน้าพุทธาเทพ ภัตตาจารย์
สภาชิกสภานิติบัญญัติรัฐเบงกอลตะวันตก
เริ่มดำรงตำแหน่ง
3 ตุลาคม ค.ศ. 2021 (2021-10-03)
ก่อนหน้าโสวันเทพ จัตโตปาธยาย
เขตเลือกตั้งภาพานีปุระ
คะแนนเสียง58,835[1][2][3]
ดำรงตำแหน่ง
16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 (2011-11-16) – 2 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 (2021-05-02)
ก่อนหน้าสุภรรต พักษี
ถัดไปโสวันเทพ จัตโตปาธยาย
เขตเลือกตั้งภาพานิปุระ
คะแนนเสียง54,213 (2011)[4]
ประธานพรรคออลอินเดียตฤณมูล
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 มกราคม ค.ศ. 1998 (1998-01-01)
ก่อนหน้าประเดิมตำแหน่ง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด (1955-01-05) 5 มกราคม ค.ศ. 1955 (69 ปี)[5][6][7]
กัลกัตตา รัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย
เชื้อชาติอินเดีย
พรรคการเมืองออลอินเดียตฤณมูล
(1998 – ปัจจุบัน)
การเข้าร่วม
พรรคการเมืองอื่น
คองเกรสแห่งชาติอินเดีย (ถึงปี 1998)
บุพการีปรมิเลศวร พยานาร์จี (บิดา)
คเยตรี เทวี (มารดา)
ญาติอภิเษก พยานาร์จี (หลาน)
ที่อยู่อาศัยโกลกาตา
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโกลกาตา (BA, MA, LL.B.)
ลายมือชื่อ
เว็บไซต์AITC official
ชื่อเล่นDidi (แปลว่า พี่สาว)
ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2011
ที่มา: [[1] [2]]

มะมะตา พยานาร์จี (อักษรโรมัน: Mamata Banerjee, แม่แบบ:IPA-bn) หรือชื่อเต็ม มะมะตา พันทโยปาธยาย (เบงกอล: মমতা বন্দ্যোপাধ্যায়, เกิด 5 มกราคม 1995) เป็นนักการเมืองชาวอินเดีย ผู้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตก คนที่แปดและคนปัจจุบัน เธอดำรงตำแหน่งมาสามวาระ นับตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2011 และเป็นสตรีคนแรกในตำแหน่ง มะมะตาเป็นผู้กอ่ตั้งพรรคออลอินเดียตฤณมูล (AITC หรือ TMC) ในปี 1998 โดยแยกมาจากพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย ผู้คนมักเรียกเธอว่า 'Didi' (แปลว่า "พี่สาว" เป็นภาษาเบงกอล)[8][9]

ก่อนหน้า เธอยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกิจการรถไฟ ที่เธอเป็นสตรีคนแรกในตำแหน่ง[10] และเป็นสตรีคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกิจการถ่านหิน, รัฐมนตรีกรมพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, รัฐมนตรีกิจการเยาวชนและกีฬา, รัฐมนตรีกิจการสตรีและการพัฒนาเด็ก ในคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลอินเดีย[11] เธอขึ้นมาสู่ความนิยมหลังออกมรต่อต้านนโยบายยึดครองที่ดินเพื่อขยายอุตสาหกรรมของรัฐบาลรัฐที่ในเวลานั้นนำโดยผู้นำคอมมิวนิสต์ในสิงคูร์[12] ในการเลือกตั้งสภานิติบัญญัติรัฐ ปี 2011 เธอชนะถล่มทลาย และเอาชนะรัฐบาลแนวหน้าฝ่ายซ้ายของพรรคคอมมิวนิสต์อินเดียไปได้[13][14][15]

เธอเป็นสมาชิดของสภานิติบัญญัติรัฐเบงกอลตะวันตกจากเขตเลือกตั้งภาพานิปุระ ตั้งแต่ปี 2011 ถึง 2021 และเคยลงสมัครในสภานันทิครมแต่แพ้ให้กับผู้สมัครพรรค BJP สุเวนทุ อาธิการี ในการเลือกตั้งปี 2021[16]กระนั้น พรรคของเฑอยังคงชนะเสียงส่วนใหญ่อยู่ดี[17]

อ้างอิง

  1. "Election Commission of India". results.eci.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2021.
  2. "Election Commission of India". results.eci.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2021.
  3. "Election Commission of India". results.eci.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2021.
  4. "Bhowanipore bypoll: Mamata Banerjee breaks her own record". The Telegraph. 4 October 2021. สืบค้นเมื่อ 4 October 2021.
  5. "Mamata Banerjee's Biodata in Lok Sabha's Document". loksabha.nic.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 May 2012.
  6. "Mamata Banerjee five years younger than official records". The Times of India. 26 January 2012. สืบค้นเมื่อ 17 September 2021.
  7. "Mamata is 5 years younger than official age". Business Line. 15 November 2017. สืบค้นเมื่อ 17 September 2021.
  8. "Mamata Banerjee's hard-hitting poem targets PM Modi's demonetisation decision, but fails to woo Netizens". The Indian Express (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 12 November 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2017. สืบค้นเมื่อ 7 October 2017.
  9. Roy, Sandip (17 October 2014). "The 1.8 crore question: Is Mamata Banerjee India's most underrated artist?". Firstpost (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2017. สืบค้นเมื่อ 7 October 2017.
  10. "Did You Know? Mamata Banerjee was India's first-ever Sports Minister". The Bridge. 4 March 2020. สืบค้นเมื่อ 9 December 2021.
  11. "Detailed Profile=Km. Mamata Banerjee". Government of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 August 2010. สืบค้นเมื่อ 11 August 2010.
  12. Yardley, Jim (14 January 2011). "The Eye of an Indian Hurricane, Eager to Topple a Political Establishment". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2012. สืบค้นเมื่อ 14 January 2011.
  13. "India: Mamata Banerjee routs communists in West Bengal". BBC News. 13 May 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2011. สืบค้นเมื่อ 14 May 2011.
  14. Achin, Kurt (11 May 2011). "India's West Bengal Set to End 34 Years of Communist Rule". VOA. สืบค้นเมื่อ 9 December 2021.
  15. Biswas, Soutik (15 April 2011). "The woman taking on India's communists". BBC World News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2011. สืบค้นเมื่อ 15 April 2011.
  16. "Nandigram election result 2021: Suvendu Adhikari beats Mamata by 1736 votes". The Times of India. 2 May 2021. สืบค้นเมื่อ 7 May 2021.
  17. "Trinamool Congress wins big in Bengal and BJP scores less than half of what it aimed for". Business Insider India. 3 May 2021. สืบค้นเมื่อ 2 August 2021.