ข้ามไปเนื้อหา

จิตแพทย์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รุ่นสำหรับพิมพ์ไม่ได้รับการสนับสนุนอีกต่อไปและอาจมีข้อผิดพลาด โปรดอัปเดตบุ๊กมาร์กและใช้ตัวเลือกสำหรับพิมพ์ที่มีมาให้ในเบราว์เซอร์แทน

จิตแพทย์ (อังกฤษ: psychiatrist) เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในด้านจิตเวชศาสตร์และได้รับการรับรองให้ทำการรักษาความผิดปกติทางจิต[1] จิตแพทย์ทุกคนถูกฝึกให้วินิจฉัยโรคและจิตบำบัด เนื่องจากจิตแพทย์ต้องเป็นแพทย์อยู่เองด้วย และสามารถวินิจฉัยโรคผู้ป่วยได้ จิตแพทย์จึงเป็นหนึ่งในกลุ่มสาขาผู้ชำนาญการด้านสุขภาพจิตจำนวนจำกัด ที่สามารถจ่ายยาเพื่อรักษาอาการทางจิตของผู้ป่วยได้ ตลอดจนสามารถสั่งตรวจร่างกาย สั่งและอธิบายการทดลองในห้องปฏิบัติการและตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง และสั่งให้มีการถ่ายภาพสมอง อย่างเช่น การตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก และโครโมโทกราฟีให้ผู้ป่วยได้ ในขณะที่ผู้ชำนาญการด้านสุขภาพจิตสาขาอื่น เช่น นักจิตวิทยา นักจิตบำบัด พยาบาลจิตเวช ฯลฯ ซึ่งมิใช่แพทย์ จะไม่สามารถสั่งจ่ายยาและสั่งการรักษาดังกล่าวได้เอง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับกฎระเบียบในแต่ละประเทศด้วย โดยปกติจิตแพทย์จะร่วมทำงานเป็นทีมกับบุคลากรสาธารณสุขสาขาอื่น ๆ ในการรักษาผู้ป่วยรายหนึ่ง ๆ [2][3][4][5][6][7][8]

อ้างอิง

  1. American Psychiatric Association. (Unknown last update). What is a Psychiatrist. Retrieved March 25, 2007, from http://www.healthyminds.org/whatisapsychiatrist.cfm เก็บถาวร 2009-04-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. Meyendorf, R. (1980). Diagnosis and differential diagnosis in psychiatry and the question of situation referred prognostic diagnosis. Schweizer Archiv Neurol Neurochir Psychiatry für Neurologie, Neurochirurgie et de psychiatrie, 126, 121-134.
  3. Leigh, H. (1983). Psychiatry in the practice of medicine. Menlo Park: Addison-Wesley Publishing Company. ISBN 978-0-201-05456-9, p. 15
  4. Leigh, H. (1983). Psychiatry in the practice of medicine. Menlo Park: Addison-Wesley Publishing Company. ISBN 978-0-201-05456-9, p. 67
  5. Leigh, H. (1983). Psychiatry in the practice of medicine. Menlo Park: Addison-Wesley Publishing Company. ISBN 978-0-201-05456-9, p. 17
  6. Lyness, J.M. (1997), p. 10
  7. Hampel, H.; Teipel, S.J.; Kotter, H.U.; et al. (1997). Structural magnetic resonance imaging in diagnosis and research of Alzheimer's disease. Nervenarzt, 68, 365-378.
  8. Townsend, B.A.; Petrella, J.R.; Doraiswamy, P.M. (2002). The role of neuroimaging in geriatric psychiatry. Current Opinion in Psychiatry, 15, 427-432.