ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phromkham (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งควรปรับการใช้ภาษาด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{แก้ภาษา}}
{{แก้ภาษา}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}
[[File:ParabolicWaterTrajectory.jpg|thumb|250px|Parabolic water trajectory]]
[[File:ParabolicWaterTrajectory.jpg|thumb|250px|วิถีการเคลื่อนที่ของน้ำแบบพาราโบลา]]
[[File:Ferde hajitas2.svg|thumb|250px|ส่วนประกอบของความเร็วต้นของการโยนแบบพาราโบลา]]
[[File:Ferde hajitas2.svg|thumb|250px|Components of initial velocity of parabolic throwing]]

'''การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์'''
'''การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์''' ({{lang-en|Projectile motion}})
[[Image:Mplwp ballistic trajectories velocities.svg|right|thumb|320px|Trajectories of a projectile with air drag and varying initial velocities]]
[[Image:Mplwp ballistic trajectories velocities.svg|right|thumb|320px|วิถีของโพรเจกไทล์ที่ลอยขึ้นไปในอากาศในความเร็วต้นที่แตกต่างกัน]]
==ความเร็วเริ่มต้น==
==ความเร็วเริ่มต้น==
เมื่อปล่อยให้โปรเจกไทล์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเริ่มต้น <math> \mathbf{v} (0) \equiv \mathbf{v}_0 </math> ซึ่งสามารถแยกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วได้ดังต่อไปนี้
เมื่อปล่อยให้โปรเจกไทล์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเริ่มต้น <math> \mathbf{v} (0) \equiv \mathbf{v}_0 </math> ซึ่งสามารถแยกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วได้ดังต่อไปนี้
บรรทัด 28: บรรทัด 29:


===การกระจัด===
===การกระจัด===
[[File:Ferde hajitas3.svg|thumb|250px|การกระจัดและพิกัดของการโยนแบบพาราโพลา]]
[[File:Ferde hajitas3.svg|thumb|250px|Displacement and coordinates of parabolic throwing]]
ณ เวลา <math> t </math> ใด ๆ [[การกระจัด]]ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวราบและแนวดิ่งคือ
ณ เวลา <math> t </math> ใด ๆ [[การกระจัด]]ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวราบและแนวดิ่งคือ
:<math> x = v_0 t \cos(\theta) </math> และ
:<math> x = v_0 t \cos(\theta) </math> และ
บรรทัด 62: บรรทัด 63:


==ระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่==
==ระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่==
[[File:Ferde hajitas4.svg|thumb|250px|ความสูงที่สูงที่สุดของโพรเจกไทล์]]
[[File:Ferde hajitas4.svg|thumb|250px|Maximum height of projectile]]
จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง <math> v_y=0 </math> นั้นคือ
จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง <math> v_y=0 </math> นั้นคือ
:<math> 0=v_0 \sin(\theta) - gt_h </math>
:<math> 0=v_0 \sin(\theta) - gt_h </math>
บรรทัด 84: บรรทัด 85:
==พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์==
==พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์==
{{บทความหลัก2|พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์}}
{{บทความหลัก2|พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์}}
[[File:Ferde hajitas5.svg|thumb|250px|ระยะทางที่ไกลที่สูงของโพรเจกไทล์]]
[[File:Ferde hajitas5.svg|thumb|250px|The maximum distance of projectile]]
ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มวลของวัตถุจะไม่ส่งผลต่อระยะไกลสุดตามแนวราบและระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่ เมื่อขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็วและทิศทางเดียวกัน ระยะไกลสุดตามแนวราบของการเคลื่อนที่แบบโพรเกจไทล์เรียกว่า"'''พิสัย'''" <math>d</math> คือ ระยะทางตามแนวราบจากจุดที่ขว้างวัตถุออกไปจนถึงจุดที่วัตถุตกกลับลงมาที่ตำแหน่งความสูงเริ่มต้น <math>(y=0)</math>
ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มวลของวัตถุจะไม่ส่งผลต่อระยะไกลสุดตามแนวราบและระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่ เมื่อขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็วและทิศทางเดียวกัน ระยะไกลสุดตามแนวราบของการเคลื่อนที่แบบโพรเกจไทล์เรียกว่า"'''พิสัย'''" <math>d</math> คือ ระยะทางตามแนวราบจากจุดที่ขว้างวัตถุออกไปจนถึงจุดที่วัตถุตกกลับลงมาที่ตำแหน่งความสูงเริ่มต้น <math>(y=0)</math>
:<math> 0 = v_0 t_d \sin(\theta) - \frac{1}{2}gt_d^2 </math>
:<math> 0 = v_0 t_d \sin(\theta) - \frac{1}{2}gt_d^2 </math>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:18, 19 มีนาคม 2562

วิถีการเคลื่อนที่ของน้ำแบบพาราโบลา
ส่วนประกอบของความเร็วต้นของการโยนแบบพาราโบลา

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (อังกฤษ: Projectile motion)

วิถีของโพรเจกไทล์ที่ลอยขึ้นไปในอากาศในความเร็วต้นที่แตกต่างกัน

ความเร็วเริ่มต้น

เมื่อปล่อยให้โปรเจกไทล์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเริ่มต้น ซึ่งสามารถแยกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วได้ดังต่อไปนี้

องค์ประกอบ และ สามารถหาได้เมื่อทราบมุมเริ่มต้น ดังนี้

และ

ปริมาณจลนพลศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

ในปี ค.ศ. 1638 กาลิเลโอ กล่าวในหนังสือ Two New Sciences ว่าสำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์นั้น การเคลื่อนที่ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบจะเป็นอิสระต่อกัน[1]

ความเร่ง

สำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะเกิดความเร่งเฉพาะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเท่านั้น ส่วนแนวราบความเร็วจะคงตัวมีค่าเท่ากับ การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของวัตถุจะเะป็นการเคลื่อนที่แบบตกอิสระ โดยมีความเร่งคงตัว [2] องค์ประกอบของความเร่งคือ

และ

ความเร็ว

องค์ประกอบของความเร็วในแรวราบของวัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดการเคลื่อนที่ และองค์ประกอบของความเร็วในแนวตั้งจะเพิ่มขึ้นแบบเส้นตรงเพราะมีความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงที่มีค่าคงที่ องค์ประกอบของความเร็วทั้งในทิศทาง x และ y สามารถรวมกันเพื่อแก้ปัญหาองค์ประกอบของความเร็ว ณ เวลา ได้ดังนี้

และ

ขนาดของความเร็ว (ภายใต้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)

การกระจัด

การกระจัดและพิกัดของการโยนแบบพาราโพลา

ณ เวลา ใด ๆ การกระจัดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวราบและแนวดิ่งคือ

และ

ขนาดของการกระจัดคือ

พิจารณาสมการ

และ

ถ้า ถูกกำจัดออกระหว่างทั้งสองสมการ จะได้

เมื่อ และ เป็นค่าคงที่ สมการข้างต้นจะอยู่ในรูป

ซึ่ง และ เป็นค่าคงที่ สมการนี้เป็นสมการพาราโบลา ดังนั้นเส้นทางการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จึงเป็นรูปพาราโบลา ถ้าทราบตำแหน่ง (x,y) ของโพรเจกไทล์ และมุมยิง ( หรือ ) ความเร็วเริ่มตั้น สามารถหาได้จากการแก้สมการพาราโบลาข้างต้น ได้เป็น

เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่

เวลาทั้งหมดที่วัตถุลอยอยู่ในอากาศหาได้จากสมการ

หลังจากที่วัตถุถูกยิงออกไปและตกกลับลงมาบนพื้นอีกครั้ง (แกน x) ดังนั้น

ในที่นี้จะไม่สนใจอรงต้านของอากาศที่กระทำต่อวัตถุ

ถ้าจุดเริ่มต้นอยู่ที่ตำแหน่ง เมื่อเทียบกับจุดตก เวลาที่วัตถุลอยอยู่ในอากาศ คือ

สมการข้างต้นสามารถลดรูปเป็น

ถ้า = 0 และ = 0

ระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่

ความสูงที่สูงที่สุดของโพรเจกไทล์

จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง นั้นคือ

เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด

จากการกระจัดที่สูงที่สุดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

ความสัมพันธ์ระหว่างระยะไกลสุดกับระยะสูงสุด

ความสัมพันธืระหว่างระยะไกลสุดบนแนวราบ กับระยะสูงสุด ที่ เป็น

พิสูจน์

×

.

พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

ระยะทางที่ไกลที่สูงของโพรเจกไทล์

ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มวลของวัตถุจะไม่ส่งผลต่อระยะไกลสุดตามแนวราบและระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่ เมื่อขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็วและทิศทางเดียวกัน ระยะไกลสุดตามแนวราบของการเคลื่อนที่แบบโพรเกจไทล์เรียกว่า"พิสัย" คือ ระยะทางตามแนวราบจากจุดที่ขว้างวัตถุออกไปจนถึงจุดที่วัตถุตกกลับลงมาที่ตำแหน่งความสูงเริ่มต้น

เวลาเมื่อตกถึงพื้น

จากการเคลื่อนที่ในแนวราบ ระยะทางของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็น

ดังนั้น[3]

จะมีค่าสูงสุดเมื่อ

ซึ่งสอดคล้องกับ

หรือ

Trajectories of projectiles launched at different elevation angles but the same speed of 10 m/s in a vacuum and uniform downward gravity field of 10 m/s2. Points are at 0.05 s intervals and length of their tails is linearly proportional to their speed. t = time from launch, T = time of flight, R = range and H = highest point of trajectory (indicated with arrows).

ระยะทางในแนวราบ ที่เคลื่อนที่ได้

เมื่อพื้นเรียบ (ความสูงเริ่มต้น ()) ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้

ดังนั้นวัตถุจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางไกลที่สุด เมื่อ มีค่าเท่ากับ 45 องศา

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทงานและพลังงาน

ตามทฤษฎีงานและพลังงาน องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่งคือ

สมการเหล่านี้จะไม่พิจารณาแรงต้านของอากาศ และถือว่าพื้นเป็นพื้นราบเรียบ

อ้างอิง

  1. Galileo Galilei, Two New Sciences ', Leiden, 1638, p.249
  2. The คือ ความเร่งโน้มถ่วง. ( ที่ผิวโลก).