ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คันโต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 182.232.9.186 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Setawut
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
}}
}}


'''คันโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|関東|Kantō}}) เป็นภูมิภาคของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]บน[[เกาะฮนชู]] ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ [[จังหวัดกุมมะ]], [[จังหวัดคะนะงะวะ|คะนะงะวะ]], [[จังหวัดชิบะ|ชิบะ]], [[จังหวัดไซตะมะ|ไซตะมะ]], [[จังหวัดโตเกียว|โตเกียว]], [[จังหวัดโทะชิงิ|โทะชิงิ]] และ [[จังหวัดอิบะระกิ|อิบะระกิ]] คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548)อัตราความหนาแน่น 1,279.53 คน/ตารางกิโลเมตรพ่องง
'''คันโต''' ({{ญี่ปุ่น|関東|Kantō}}) เป็นภูมิภาคของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]บน[[เกาะฮนชู]] ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ [[จังหวัดกุมมะ]], [[จังหวัดคะนะงะวะ|คะนะงะวะ]], [[จังหวัดชิบะ|ชิบะ]], [[จังหวัดไซตะมะ|ไซตะมะ]], [[จังหวัดโตเกียว|โตเกียว]], [[จังหวัดโทะชิงิ|โทะชิงิ]] และ [[จังหวัดอิบะระกิ|อิบะระกิ]] คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548)อัตราความหนาแน่น 1,279.53 คน/ตารางกิโลเมตร


คันโตเป็นดินแดนแห่งพื้นที่ราบลุ่มที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น และชื่อนี้ ทำให้เป็นพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นที่สุด คือ 39.6 ล้านคน กล่าวคือ 15,600 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งเป็นที่ตั้งของพระราชวังอิมพิเรียล ที่ประทับของพระมหาจักรพรรดิ เป็นศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาล ธุรกิจ สถาบันการศึกษา รวมทั้งสิ่งบันเทิงและความทันสมัยต่าง ๆ แต่เนื่องจากที่ดินและที่พักอาศัยในกรุงโตเกียวมีราคาแพงมาก ผู้คนส่วนใหญ่จึงพักอาศัยอยู่บริเวณชานเมืองหรือจังหวัดใกล้เคียงเช่น คะนะกะวะ ชิบะ ไซตะมะ แล้วเดินทางโดยรถไฟเข้ามาทำงานหรือเรียนที่โตเกียว นอกจากกรุงโตเกียวแล้ว เมืองโยะโกะฮะมะ ซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เนื่องจากมีท่าเรือพาณิชย์นานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกไกล ก็อยู่ในภูมิภาคนี้เช่นกัน บริเวณชายฝั่งของอ่าวโตเกียว เป็นที่ตั้งของเขตอุตสาหกรรม อันได้แก่โรงงานผลิตเหล็ก ต่อเรือ ปิโตรเลียม เครื่องใช้ไฟฟ้า ในส่วนที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำบางแห่ง เป็นแหล่งเกษตรกรรม ทุ่งนา เพาะปลูกพืชผัก ผลไม้ ฟาร์มสุกร และฟาร์มโคนม ฤดูร้อนในแถบคันโต ค่อนข้างร้อนชื้นและเหนอะหนะ ฤดูหนาวอากาศเย็น มีหิมะตกบางเบา ทางตอนใต้ของโยะโกะฮะมะ อากาศอบอุ่น
คันโตเป็นดินแดนแห่งพื้นที่ราบลุ่มที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น ทำให้เป็นพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นที่สุด คือ 39.6 ล้านคน กล่าวคือ 15,600 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งเป็นที่ตั้งของพระราชวังอิมพิเรียล ที่ประทับของพระมหาจักรพรรดิ เป็นศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาล ธุรกิจ สถาบันการศึกษา รวมทั้งสิ่งบันเทิงและความทันสมัยต่าง ๆ แต่เนื่องจากที่ดินและที่พักอาศัยในกรุงโตเกียวมีราคาแพงมาก ผู้คนส่วนใหญ่จึงพักอาศัยอยู่บริเวณชานเมืองหรือจังหวัดใกล้เคียงเช่น คะนะกะวะ ชิบะ ไซตะมะ แล้วเดินทางโดยรถไฟเข้ามาทำงานหรือเรียนที่โตเกียว นอกจากกรุงโตเกียวแล้ว เมืองโยะโกะฮะมะ ซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เนื่องจากมีท่าเรือพาณิชย์นานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกไกล ก็อยู่ในภูมิภาคนี้เช่นกัน บริเวณชายฝั่งของอ่าวโตเกียว เป็นที่ตั้งของเขตอุตสาหกรรม อันได้แก่โรงงานผลิตเหล็ก ต่อเรือ ปิโตรเลียม เครื่องใช้ไฟฟ้า ในส่วนที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำบางแห่ง เป็นแหล่งเกษตรกรรม ทุ่งนา เพาะปลูกพืชผัก ผลไม้ ฟาร์มสุกร และฟาร์มโคนม ฤดูร้อนในแถบคันโต ค่อนข้างร้อนชื้นและเหนอะหนะ ฤดูหนาวอากาศเย็น มีหิมะตกบางเบา ทางตอนใต้ของโยะโกะฮะมะ อากาศอบอุ่น


{{เขตการปกครองในญี่ปุ่น}}
{{เขตการปกครองในญี่ปุ่น}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:56, 13 พฤษภาคม 2559

ภาคคันโต

関東地方
ภาคคันโตแสดงในแผนที่ประเทศญี่ปุ่น
ภาคคันโตเมื่อเทียบกับทั้งประเทศ
Closeup map showing the areas within the Kantō region of Japan
จังหวัดในภาคคันโต
พื้นที่
 • ทั้งหมด32,423.90 ตร.กม. (12,518.94 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (ค.ศ. 2012)
 • ทั้งหมด42,598,300 คน
 • ความหนาแน่น1,300 คน/ตร.กม. (3,400 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+9 (JST)

คันโต (ญี่ปุ่น: 関東โรมาจิKantō) เป็นภูมิภาคของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกุมมะ, คะนะงะวะ, ชิบะ, ไซตะมะ, โตเกียว, โทะชิงิ และ อิบะระกิ คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548)อัตราความหนาแน่น 1,279.53 คน/ตารางกิโลเมตร

คันโตเป็นดินแดนแห่งพื้นที่ราบลุ่มที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น ทำให้เป็นพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นที่สุด คือ 39.6 ล้านคน กล่าวคือ 15,600 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งเป็นที่ตั้งของพระราชวังอิมพิเรียล ที่ประทับของพระมหาจักรพรรดิ เป็นศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาล ธุรกิจ สถาบันการศึกษา รวมทั้งสิ่งบันเทิงและความทันสมัยต่าง ๆ แต่เนื่องจากที่ดินและที่พักอาศัยในกรุงโตเกียวมีราคาแพงมาก ผู้คนส่วนใหญ่จึงพักอาศัยอยู่บริเวณชานเมืองหรือจังหวัดใกล้เคียงเช่น คะนะกะวะ ชิบะ ไซตะมะ แล้วเดินทางโดยรถไฟเข้ามาทำงานหรือเรียนที่โตเกียว นอกจากกรุงโตเกียวแล้ว เมืองโยะโกะฮะมะ ซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เนื่องจากมีท่าเรือพาณิชย์นานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกไกล ก็อยู่ในภูมิภาคนี้เช่นกัน บริเวณชายฝั่งของอ่าวโตเกียว เป็นที่ตั้งของเขตอุตสาหกรรม อันได้แก่โรงงานผลิตเหล็ก ต่อเรือ ปิโตรเลียม เครื่องใช้ไฟฟ้า ในส่วนที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำบางแห่ง เป็นแหล่งเกษตรกรรม ทุ่งนา เพาะปลูกพืชผัก ผลไม้ ฟาร์มสุกร และฟาร์มโคนม ฤดูร้อนในแถบคันโต ค่อนข้างร้อนชื้นและเหนอะหนะ ฤดูหนาวอากาศเย็น มีหิมะตกบางเบา ทางตอนใต้ของโยะโกะฮะมะ อากาศอบอุ่น